โครงการบำบัดอาการปวดเมื่อยด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ชื่อโครงการ | โครงการบำบัดอาการปวดเมื่อยด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก |
รหัสโครงการ | 61-L1464-1-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนธานี |
วันที่อนุมัติ | 7 สิงหาคม 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 15,750.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายพนม วงศ์เทพบุตร |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.512,99.563place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การแพทย์แผนไทยเป็นแนวทางการรักษาแบบองค์รวมของคนไทยที่มีมาช้านาน ปัจจุบันได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาล ให้เป็นทางเลือกอีกอย่างหนึ่งในการเลือกรับบริการทางด้านสุขภาพ ซึ่งกิจกรรมบริการด้านการแพทย์แผนไทยมีหลายด้าน เช่น การนวดบำบัดรักษา การประคบสมุนไพร การอบไอน้ำสมุนไพร รวมถึงการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนธานี ได้เล็งเห็นความสำคัญในการป้องกันส่งเสริม รักษาและฟื้นฟูสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย การสืบสานภูมิปัญญาไทยและการพึ่งพาตัวเองในการดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย ตลอดจนการรู้จักใช้สมุนไพรนครัวเรือนให้เกิดประโยชน์ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนธานีจึงได้ทำโครงการบำบัดอาการปวดเมื่อยด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อลดอาการปวดเมื่อยในกลุ่มผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อด้วยการแพทย์แผนไทย ร้อยละ 70 ของผู้ร่วมโครงการมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลงจากการอบสมุนไพรโดยวัดจากระดับความเจ็บปวด (Pain Scale) |
30.00 | |
2 | 2.เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ร้อยละ 70 ของผู้ร่วมโครงการมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลงจากการอบสมุนไพรโดยวัดจากระดับความเจ็บปวด (Pain Scale) |
30.00 | |
3 | 3.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำสมุนไพรไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้ ร้อยละ 70 ของผู้ร่วมโครงการมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลงจากการอบสมุนไพรโดยวัดจากระดับความเจ็บปวด (Pain Scale) |
30.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 14,760.00 | 3 | 15,750.00 | -990.00 | |
1 ก.ค. 61 - 30 ก.ย. 61 | คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย | 0 | 10.00 | ✔ | 850.00 | -840.00 | |
1 ก.ค. 61 - 30 ก.ย. 61 | วางแผนการดำเนินโครงการ โดยการจัดตารางนัดสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ 1 คน เข้ารับการอบสมุนไพร | 0 | 0.00 | ✔ | 0.00 | 0.00 | |
1 ก.ค. 61 - 30 ก.ย. 61 | อบสมุนไพรกลุ่มเป้าหมาย โดยกำหนดระดับความเจ็บปวด pain scale ตั้งแต่ระดับ 2 ขึ้นไป | 0 | 14,750.00 | ✔ | 14,900.00 | -150.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 14,760.00 | 3 | 15,750.00 | -990.00 |
1.สำรวจกลุ่มเป้าหมาย 2.คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย โดย 2.1 การตรวจสอบสุขภาพ เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต 2.2 ตรวจกล้ามเนื้อกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ โดยวัดระดับความเจ็บปวดจาก Pain Scale 3.วางแผนการดำเนินการโครงการ โดยการจัดตารางนัดสำหรับผู้เข้่าร่วมโครงการในการอบสมุนไพร (ผู้เข้าร่วมโครงการ ๑ คน เข้ารับการอบสมุนไพร ๒ ครั้ง/สัปดาห์ เป็นเวลา ๑ เดือน) 4.อบสมุนไพรกุล่มเป้าหมาย โดยกำหนดระดับความเจ็บปวด ( Pain scale) ตั้งแต่ระดับ 2 ขึ้นไป
1.อาการปวดเมื่อยของผู้เข้าร่วมโครงการลดลงโดยวัดระดับความเจ็บปวด pain scale 2.ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยมากยิ่งขึ้น 3.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำสมุนไพรไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ส.ค. 2561 12:48 น.