กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
วางแผนการดำเนินโครงการ โดยการจัดตารางนัดสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ 1 คน เข้ารับการอบสมุนไพร25 ตุลาคม 2561
25
ตุลาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลควนธานี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. สำรวจกลุ่มเป้าหมาย
  2. คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย โดย

- การตรวจสุขภาพ เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต  , - ตรวจกล้ามเนื้อกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ โดยวัดระดับความเจ็บปวดจาก Pain Scale 3. วางแผนการดำเนินการโครงการ โดยการจัดตารางนัดสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการในการอบสมุนไพร (ผู้เข้าร่วมโครงการ 1คน เข้ารับการอบสมุนไพร 2 ครั้ง/สัปดาห์ เป็นเวลา 1 เดือน) 4. อบสมุนไพรกลุ่มเป้าหมาย โดยกำหนดระดับความเจ็บปวด (Pain Scale) ตั้งแต่ระดับ 2 ขึ้นไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลง กล้ามเนื้อมีความตึงลดลง (จากการวัดระดับความเจ็บปวด/ Pain scale) หลังจากการอบสมุนไพรอย่างต่อเนื่อง รวมถึงระดับความดันโลหิต น้ำหนัก ของร่างกาย และระบบทางเดินหายใจ การนอนหลับที่ดียิ่งขึ้น
  • ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจด้านการดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้นสามารถนำสมุนไพรไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้
อบสมุนไพรกลุ่มเป้าหมาย โดยกำหนดระดับความเจ็บปวด pain scale ตั้งแต่ระดับ 2 ขึ้นไป25 ตุลาคม 2561
25
ตุลาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลควนธานี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. สำรวจกลุ่มเป้าหมาย
  2. คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย โดย

- การตรวจสุขภาพ เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต , - ตรวจกล้ามเนื้อกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ โดยวัดระดับความเจ็บปวดจาก Pain Scale 3. วางแผนการดำเนินการโครงการ โดยการจัดตารางนัดสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการในการอบสมุนไพร (ผู้เข้าร่วมโครงการ 1คน เข้ารับการอบสมุนไพร 2 ครั้ง/สัปดาห์ เป็นเวลา 1 เดือน) 4. อบสมุนไพรกลุ่มเป้าหมาย โดยกำหนดระดับความเจ็บปวด (Pain Scale) ตั้งแต่ระดับ 2 ขึ้นไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลง กล้ามเนื้อมีความตึงลดลง (จากการวัดระดับความเจ็บปวด/ Pain scale) หลังจากการอบสมุนไพรอย่างต่อเนื่อง รวมถึงระดับความดันโลหิต น้ำหนัก ของร่างกาย และระบบทางเดินหายใจ การนอนหลับที่ดียิ่งขึ้น
  • ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจด้านการดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้นสามารถนำสมุนไพรไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้
คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย20 กันยายน 2561
20
กันยายน 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลควนธานี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. สำรวจกลุ่มเป้าหมาย
  2. คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย โดย

- การตรวจสุขภาพ เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต , - ตรวจกล้ามเนื้อกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ โดยวัดระดับความเจ็บปวดจาก Pain Scale 3. วางแผนการดำเนินการโครงการ โดยการจัดตารางนัดสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการในการอบสมุนไพร (ผู้เข้าร่วมโครงการ 1คน เข้ารับการอบสมุนไพร 2 ครั้ง/สัปดาห์ เป็นเวลา 1 เดือน) 4. อบสมุนไพรกลุ่มเป้าหมาย โดยกำหนดระดับความเจ็บปวด (Pain Scale) ตั้งแต่ระดับ 2 ขึ้นไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลง กล้ามเนื้อมีความตึงลดลง (จากการวัดระดับความเจ็บปวด/ Pain scale) หลังจากการอบสมุนไพรอย่างต่อเนื่อง รวมถึงระดับความดันโลหิต น้ำหนัก ของร่างกาย และระบบทางเดินหายใจ การนอนหลับที่ดียิ่งขึ้น
  • ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจด้านการดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้นสามารถนำสมุนไพรไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้