กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู


“ โครงการกลไกการพัฒนารูปแบบการจัดการปัญหายาเสพติดในชุมชน ”

ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลวาริส โลงซา

ชื่อโครงการ โครงการกลไกการพัฒนารูปแบบการจัดการปัญหายาเสพติดในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มิถุนายน 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกลไกการพัฒนารูปแบบการจัดการปัญหายาเสพติดในชุมชน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกลไกการพัฒนารูปแบบการจัดการปัญหายาเสพติดในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกลไกการพัฒนารูปแบบการจัดการปัญหายาเสพติดในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มิถุนายน 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาชุมชนที่ผ่านมาได้รับการให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากแผนพัฒนาประเทศฉบับต่าง ๆ ประชาชนเป็นกลุ่มเป้าหมายสำหรับการพัฒนาเป็นอันดับแรก การส่งเสริมและประสานกิจกรรมด้านการพัมนาของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเป็นไปอย่างกว้างขวาง รวมทั้งส่งเสริมให้มีการพัฒนาให้ประชาชนในแต่ละกลุ่ม และองค์กรต่าง ๆ ในชุมชน การพัฒนาไม่ได้เป็นกิจกรรมเพื่อการสังคมสงเคราะห์อีกต่อไป แต่เป็นการพัฒนาที่ให้ความสำคัญกับประชาชนโดยให้ประชาชนเข้ามาร่วมรับรู้ปัญหา และแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง แต่ที่ผ่านมาแม้ว่าการกำหนดนโยบายการตัดสินใจการสั่งการในที่สุดประชาชนก็เป็นฝ่ายตอบสนอง และปฏิบัติตามการให้ความร่วมมือในกิจกรรมหรือโครงการที่รัฐกำหนดไว้มากกว่าจะเป็นการมีส่วนร่วมตามความหมายที่แท้จิง ทำให้องค์กรภายนอกภาครัฐส่วนใหญ่ รวมทั้งประชาชนทั่วไปไม่ถือว่าเป็นปัญหาที่พลังของตนจะต้องเข้าไปร่วมแก้ไข เมื่อพลังทางสังคมส่วนใหญ่รวมทั้งวางเฉย ทำให้กลไกรัฐอยู่ในสภาพที่ต้องแก้ไขปัญหาอย่างโดดเดี่ยว ขาดพลังสร้างสรรค์ในการดำเนินการขาดระบบการประสานงานที่ดี ทำให้กลไกรัฐเพ่ิมข้อจำกัดมากย่ิงขึ้นจนไม่อาจแก้ไขปัญหาด้วยพลังของตนเองได้โดยลำพัง หากกล่างในด้านแนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดในอดีตที่ผ่านมาก็มีแนวความคิดทำนองเดี่ยวกันแนวคิดของระบบใหญ่ กล่าวคือปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่รัฐและกลไกรัฐเป็นเจ้าของปัญหา และต้องมีบทบาทหน้าที่ แก้ไขปัญหานี้โดยตรง ดังจะเป็นได้จากการมีการออกฏหมายระบุโทษ มาตรการทางกฏหมายและบังใช้กฏหมายจึงเป็นหลักสำคัญในการแก้ไขปัญหายาเสพติด แม้ว่าในระยะหลังพัฒนาการของการแก้ไขปัญหายาเสพติดเร่ิมมีมากขึ้น พร้อมๆ ไปกับความซับซ้อนของตัวปัญหายาเสพติดเอง แต่บทบาทของรัฐก็ยังเป็นส่วนหลักในกลไกการแก้ไขปัญหา เช่นการใช้มาตรการทางกฏหมาย การส่งเสริม การปฏิบัติ การจิตวิทยา การพัฒนาต่อกลุ่มประชาชน เพื่อมุ่งเน้นมาตรการป้องกันยาเสพติด โดยอาศัยศักยภาพของรัฐเป็นตัวกล่างในการเผยแพร่ความรู้ต่าง ๆ ซึ่งแนวความคิดและการแก้ไขปัญหายาเสพติดตามกรอบดังกล่าว แม้จะมีส่วนถูกำต้องสอดคล้องกับบางกลุ่มเป้าหมาย แต่หากกล่าวโดยภาพรวม การระดมสรรพกำลังเฉพาะภาครัฐย่อมไม่อาจแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้มูลเหตุสำคัญที่ข้อจำกัดของกลไกรัฐดังกล่าวมาแล้วนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด ซึ่งเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนมากที่สุด กลับมีความสลับซับซ้อนมากที่สุดในบรรดาวงจรของปัญหายาเสพติดมิติต่าง ๆ และเป็นปัญหาที่แก้ไขได้ยากลำบากที่สุด เนื่องจากเพราะตัวมันเองเป็นทั้งต้นเหตุ และปลายเหตุของปัยหาในห้วงเวลาเดียวกัน อีกทั้งยังเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลาย ๆ ด้าน ครอบคลุมไปถึงบุคคล ครอบครัว ชุมชนและสังคม   จากบทเรียนดังกล่าวทำให้หลายฝ่ายเริ่มมองกับมามองที่ประชาชน โดยมุ้งเน้นการพัฒนาคุณภาพของ "คน" อย่างจริงจัง เพื่อให้สามารถกำหนดและตัดสินใจอนาคตของตนเอง ในขณะที่บทบาทของรัฐต้องปรับบทบาทและทัศนะในการทำงาน โดยเรียนรู้ร่วมกับประชาชนโดยเชื่อว่าคนเป็นทรัพยากรที่มีความหมาย และสำคัญที่สุด คนทุกคนมีความสามารถที่จะพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น ถ้ามีโอกาส ดังนั้น การให้โอกาสจะช่วยให้พลังอันซ่อนเร้นในตัวคนออกมาใช้ประโยชน์ต่อส่วนรวม และการพัฒนาจะมีประสิทธิภาพต้องยึดหลักการรวมตัวและทำงานร่วมกัน การส่งเสริมและพัฒนาดังกล่าว ทำให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ร่วมทำให้เกิดกลุ่มพลังและองค์กรประชาชนต่าง ๆ ทั้งในรูปแบบการเข้าไปส่่งเสริมจากองค์กร พัฒนาภาครัฐ ภาคเอกชน และเกิดการรวมตัวองค์กรประชาชนต่าง ๆ ทั้งในรูปแบบการเข้าไปส่งเสริมจากองค์กร พัฒนาภาครัฐ ภาคเอกชน และเกิดการรวมตัวของประชาชนตามธรรมชาติในชุมชน เช่น กลุ่ม อสม. กลุ่มหมอพื้นบ้าน กลุ่มสตรี กลุ่มเยาวชน กลุ่มเศรษฐกิจชุมชน และอื่น ๆ ซึ่งส่งผลให้การพัฒนาได้สร้างโอกาสหรือช่องทางสำหรับประชาชนให้สามารถพัฒนาศักยภาพ หรือสะท้อนปัญหาที่แท้จริงมากขึ้น   ดังนั้น ชมรมเยาวชนมัสยิดโกตาบารู ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว และเห็นความสำคัญในการส่งเสริมให้เยาวชนในพื้นที่ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด และส่งเสริมการศึกษาและเรียนรู้เรื่องยาเสพติด และพัฒนาระบบกลไกการก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืนในชุมชน จึงได้จัดโครงการกลไกการพัฒนารูปแบบการจัดการปัญหายาเสพติดในชุมชนขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการครูผู้สอนและแกนนำนักเรียนในศุนย์อิสลามประจำมัสยิด
  2. จัดเวทีเพื่อส่งเสริมรูปแบบการจัดการปัญหายาเสพติดในชุมชน
  3. จัดเวทีเพื่อสรุปผลและถอดบทเรียนนำเสนอสู่สาธารณชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการครูผู้สอนและแกนนำนักเรียนในศุนย์อิสลามประจำมัสยิด (2) จัดเวทีเพื่อส่งเสริมรูปแบบการจัดการปัญหายาเสพติดในชุมชน (3) จัดเวทีเพื่อสรุปผลและถอดบทเรียนนำเสนอสู่สาธารณชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการกลไกการพัฒนารูปแบบการจัดการปัญหายาเสพติดในชุมชน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลวาริส โลงซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด