กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ตำบลจะกว๊ะ ”

ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกามีล๊ะ แวโต๊ะยะ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ตำบลจะกว๊ะ

ที่อยู่ ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4157-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ตำบลจะกว๊ะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ตำบลจะกว๊ะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ตำบลจะกว๊ะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4157-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มือนับเป็นอวัยวะที่ทำให้มนุษย์ทุกคนหยิบของต่าง ๆ ตั้งแต่มนุษย์เกิดมาลืมตาดูโลกขึ้นมาในเวลาแรกหรือในเวลาตอนเช้าไม่ว่าจะเป็นการล้างหน้าแปรงฟันอาบน้ำการสัมผัสสิ่งของรวมทั้งหยิบของและการหยิบอาหารเข้าปากมือจึงอาจจะนำเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายและหากมีผู้เป็นโรคติดต่อมืออาจเป็นอวัยวะตัวกลางในการแพร่พันธุ์สู่ผู้อื่นโดยจากการสัมผัสทางตรงหรือผ่านตัวกลางที่จะพบบ่อยที่สุดที่ผู้คนมากมายโดยเกิดจากการไม่ล้างมือหลังจากที่มีการทำกิจกรรมในแต่ละวันต่าง ๆ เช่นโรคมือเท้าปากซึ่งเป็นโรคที่พบบ่อยในเด็กผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็กที่มีอายุน้อยกว่า 5 ปีมักระบาดในช่วงหน้าฝนโรคที่เกิดจากโรคไวรัสกลุ่ม“แอนเตอโรไวรัส” การที่เป็นโรคมือเท้าปากอันเกิดจากการรับประทานอาหารโดยขาดความสะอาดเช่นไม่ได้ล้างมือก่อนรับประทานอาหารการดื่มน้ำหรือเด็กที่ดูดเลียนิ้วมือซึ่งโรคนี้จะมีอาการโดยทั่วไปแล้วมักจะมีอาการเจ็บคอจะมีตุ่มฟองใสจะมีขนาดปริมาณ 1 – 2 มิลลิลิตรบนฐานซึ่งจะแสดงด้วยสีแดงซึ่งกระจายอยู่ในบริเวณคอหอยและจะมีตุ่มฟองใสจะขยายกลายเป็นแผลร้อนในโดยส่วนมากจะพบบ่อยที่บริเวณด้านหน้าของต่อมทอมซิลและมักจะเป็นอยู่โดยจะใช้เวลา 4 – 5 วัน หลังจากเริ่มมีอาการได้มีรายงานพบว่าอาการซักจากไข้สูงโดยมีอัตราร้อยละ 5 % โดยมีวิธีการป้องกันที่ดีที่สุดคือการล้างมือให้ถูกวิธีโดยใช้สบู่และล้างด้วยน้ำที่สะอาดหลาย ๆ ครั้งโดยเฉพาะเมื่อได้สัมผัสกับเด็กที่ป่วยต้องปฏิบัติให้ถูกวิธีให้ล้างมือด้วยสบู่ทุกครั้งที่ออกจากห้องน้ำหลังทำกิจกรรมใช้ช้อนกลางทุกครั้งที่ตักอาหารรับประทานอาหารร่วมกันและหลีกเลี่ยงการใช้แก้วน้ำดื่มหรือใช้หลอดดูดดื่มร่วมกันหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่วยโดยสวมถุงมือเมื่อจะลงมือทำแผลของผู้ป่วยที่เป็นโรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปากเปื่อยโรคมือเท้าปากเปื่อยเป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส พบได้บ่อยในทารกและเด็กเล็ก ทำให้มีอาการไข้ เป็นแผลในปาก มีตุ่มน้ำใสตามฝ่ามือ ฝ่าเท้า และลำตัว จัดเป็นโรคที่สร้างความกังวลใจให้กับคุณพ่อคุณแม่อยู่ไม่น้อย สาเหตุของโรคมือเท้าปากเปื่อยโรคมือเท้าปากเปื่อยเกิดจากการติดเชื้อไวรัสในกลุ่มเอนเทอโรไวรัส ซึ่งมีมากกว่า 100 สายพันธุ์โดยสายพันธุ์ที่ทำให้เกิดโรคที่พบได้บ่อย เช่น คอกซากีไวรัส เอ16 (coxsackievirus A16)และเอนเทอโรไวรัส 71 (enterovirus 71) กลุ่มเสี่ยงที่พบบ่อยคือ เด็กทารกและเด็กเล็กอายุต่ำกว่า5ปีซึ่งมักมีอาการรุนแรงมากกว่าเด็กโต สำหรับผู้ใหญ่พบโรคนี้ได้บ้าง การติดต่อของโรคมือเท้าปากเปื่อยโรคมือเท้าปากเปื่อยสามารถติดต่อโดยตรงจากการสัมผัสกับสารคัดหลั่งจากจมูก ลำคอ น้ำลาย และน้ำจากตุ่มใส รวมถึงอุจจาระของผู้ป่วยที่มีเชื้ออยู่ และสามารถติดต่อโดยอ้อมจากการสัมผัสของเล่น พื้นผิวสัมผัสที่มีการปนเปื้อนของเชื้อ อาหารหรือน้ำดื่มที่ปนเปื้อนเชื้อ มือของผู้เลี้ยงดู โดยสถานที่ที่มักพบการระบาดของโรค ได้แก่ สถานรับเลี้ยงเด็กและโรงเรียนอนุบาล และช่วงที่มักมีการระบาดของโรคนี้คือ ช่วงฤดูฝนเข้าสู่ฤดูหนาว อย่างไรก็ดี โรคนี้ไม่ติดต่อจากคนสู่สัตว์หรือสัตว์สู่คน ทั้งนี้ โรคนี้สามารถเป็นซ้ำได้อีก เนื่องจากภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นในผู้ป่วยที่หายจากการติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์หนึ่ง ๆ อาจไม่สามารถช่วยป้องกันการติดเชื้อจากไวรัสสายพันธุ์อื่น ๆ ได้ แม้จะจัดอยู่ในกลุ่มย่อยของเชื้อไวรัสเดียวกันอาการและภาวะแทรกซ้อนของโรคมือเท้าปากเปื่อย อาการเริ่มต้นของโรคมือเท้าปากเปื่อยจะคล้ายไข้หวัดคือมีไข้ประมาณ 2 – 4 วันและปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ จากนั้นจะมีผื่นแดงอักเสบที่ลิ้น เหงือก และกระพุ้งแก้ม ต่อมาเกิดผื่นแดงที่ฝ่ามือและฝ่าเท้า ในบางรายอาจพบที่ก้นด้วย โดยผื่นที่เกิดขึ้นเหล่านี้จะกลายเป็นตุ่มพองใสและแตกออกเป็นแผลหลุมตื้นๆ โดยส่วนใหญ่หากไม่มีอาการแทรกซ้อนอื่นอาการมักหายได้เองภายใน 7 - 10 วัน อย่างไรก็ตาม โรคมือเท้าปากเปื่อยอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ สมองอักเสบ อัมพาตกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก หรือกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ไปจนถึงเสียชีวิตได้ โดยอาการแทรกซ้อนไม่สัมพันธ์กับจำนวนแผลในปากหรือตุ่มที่พบตามฝ่ามือฝ่าเท้า ในรายที่มีอาการแทรกซ้อนรุนแรงอาจมีแผลไม่กี่จุดในลำคอหรืออาจมีตุ่มเพียงไม่กี่ตุ่มตามฝ่ามือฝ่าเท้าก็ได้ซึ่งคุณพ่อคุณแม่ควรดูแลลูกอย่างใกล้ชิดในช่วง 1 - 2 สัปดาห์แรกแม้จะดูว่าผื่นและแผลในปากหายไปแล้วก็ตาม ในปัจจุบันมีเด็กอายุต่ำกว่า5ปีเป็นเด็กก่อนวัยเรียนต้องถูกฝากเลี้ยงไว้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลซึ่งเป็นสถานที่ที่เด็กมาอยู่รวมกันเป็นจำนวนมากเมื่อมีเด็กคนใดคนหนึ่งเจ็บป่วยจะสามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อสู่กันได้ง่ายในเด็กเล็กที่มีภูมิต้านทานต่ำจะป่วยได้บ่อย โรคที่พบบ่อยได้แก่โรคมือเท้าปากและโรคติดต่อต่าง ๆ ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการและสุขภาพโดยรวมของเด็กการระบาดของโรคมือเท้าปากและโรคติดต่อต่าง ๆ เมื่อเกิดขึ้นต้องปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลผู้ปกครองต้องหยุดงานเพื่อดูแลเด็กที่บ้านทำให้ขาดรายได้จึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวังการป้องกันและควบคุมโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพซึ่งนอกจากจะช่วยลดการเกิดโรคติดเชื้อเฉียบพลันโรคมือเท้าปากในเด็กแล้วยังเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือกับการระบาดของโรคติดเชื้อซึ่งอาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอมได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปากในเด็กก่อนวัยเรียน เพื่อป้องกันควบคุมโรคไม่ให้โรคแพร่กระจาย และลดการป่วยของเด็กจึงได้จัดทำโครงการโรคมือเท้าปากในเด็กก่อนวัยเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอมขึ้น พร้อมทั้งให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือเท้าปากที่ถูกต้องต่อไป องค์การบริหารส่วนตำบลจะกว๊ะร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลจะกว๊ะได้เล็งเห็นความสำคัญของสถานการณ์โรคมือ เท้า ปากในปัจจุบัน จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้ผู้ปกครองได้ตระหนักและเฝ้าระวังป้องกันภัยแก่บุตรหลานให้พ้นอันตรายจากการแพร่ระบาดของโรคมือ เท้า ปากได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ ๒. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ครูและนักเรียนในโรงเรียนได้เรียนรู้ขั้นตอนและวิธีการล้างมือที่สะอาดและถูกวิธี ๓. เพื่อเป็นการสนับสนุนกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีให้กับเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ครูและนักเรียนในโรงเรียน ๔. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ๕. เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง คณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครูและนักเรียนในโรงเรียน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และรวมกันป้องกันควบคุมการเกิดโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ๖. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เฝ้าระวังป้องกันโรคมือ เท้า ปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 390
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เฝ้าระวังป้องกันโรคมือ เท้า ปาก

วันที่ 24 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่เด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ 1.1 การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคที่เกิดจาก มือ เท้า ปาก 1.2 เรียนรู้ขั้นตอนและวิธีการล้างมือที่สะอาดและถูกวิธี 1.3 รู้จักการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง คณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครูและนักเรียนในโรงเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และร่วมกันป้องกันควบคุมการเกิดโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน

 

390 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ ๒. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ครูและนักเรียนในโรงเรียนได้เรียนรู้ขั้นตอนและวิธีการล้างมือที่สะอาดและถูกวิธี ๓. เพื่อเป็นการสนับสนุนกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีให้กับเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ครูและนักเรียนในโรงเรียน ๔. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ๕. เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง คณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครูและนักเรียนในโรงเรียน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และรวมกันป้องกันควบคุมการเกิดโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ๖. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน
ตัวชี้วัด :
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 390
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 390
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ ๒. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ครูและนักเรียนในโรงเรียนได้เรียนรู้ขั้นตอนและวิธีการล้างมือที่สะอาดและถูกวิธี ๓. เพื่อเป็นการสนับสนุนกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีให้กับเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ครูและนักเรียนในโรงเรียน ๔. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ๕. เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง คณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครูและนักเรียนในโรงเรียน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และรวมกันป้องกันควบคุมการเกิดโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ๖. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เฝ้าระวังป้องกันโรคมือ เท้า ปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ตำบลจะกว๊ะ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4157-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกามีล๊ะ แวโต๊ะยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด