กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการนวัตกรรมสุขภาพ เพื่อนช่วนเพื่อนห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ”
ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายนำโชค ชำนาญวงศ์




ชื่อโครงการ โครงการนวัตกรรมสุขภาพ เพื่อนช่วนเพื่อนห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5215-1-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการนวัตกรรมสุขภาพ เพื่อนช่วนเพื่อนห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการนวัตกรรมสุขภาพ เพื่อนช่วนเพื่อนห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการนวัตกรรมสุขภาพ เพื่อนช่วนเพื่อนห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5215-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 130,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประชาชนสังคมไทยมีความซับซ้อนในการดำรงชีวิต ด้วยข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่หลากหลาย และระบบสุขภาพที่มีความซับซ้อน การพัฒนาสมรรถนะให้ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ(health literacy) จึงเป็นประเด็นที่มีความท้าทาย เพื่อเพิ่มความสามารถของประชาชนให้สามารถควบคุม ดูแล และพัฒนาสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน บรรลุสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลด้านการสร้างสุขภาพด้วยหลัก 3 อ 2 ส ประกอบกับรายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 ปี 2557 (สำนักโรคไม่ติดต่อ, 2557) พบว่า มีการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้น หนึ่งในสามของประชาชนไทยที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปมีความชุกโรคเบาหวานจากร้อยละ 6.9 ปี 2554 เป็น ร้อยละ 8.9 ในปี 2559 เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนประมาณ 4.8 ล้านคน ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา หรือเฉลี่ยเพิ่มขึ้นประมาณ 300,000 คน/ปี ส่วนความชุกของโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มจากร้อยละ 21.4 ในปี 2554 เป็นร้อยละ 24.7 ในปี 2559 เพิ่มขึ้นจำนวน 13 ล้านคน หรือเฉลี่ยเพิ่มขึ้นประมาณ 600,000 คน/ปี โดยจำนวนนี้เป็นผู้ไม่ทราบว่าตนเองเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงถึงร้อยละ 40 ดังนั้นการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อมีปัจจัยเสี่ยง 2 ด้านสำคัญ คือ ด้านพฤติกรรม และด้านสรีระวิทยา ปัจจัยด้านพฤติกรรม มี 4 ปัจจัย คือ การบริโภคยาสูบ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ ส่วนด้านสรีระวิทยา มี 4 ปัจจัย คือ ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน  จากข้อมูลด้านสุขภาพในปี 2560 มีความชุกของการเกิดโรคเบาหวาน 4,244.33 ต่อแสนประชากร และโรคความดันโลหิตสูง 11,709.44 ต่อแสนประชากร โรคหลอดเลือดสมอง 364.28 ต่อแสนประชากร โรคหัวใจและหลอดเลือด 158.29 ต่อแสนประชากรซึ่งเป็นสถานการณ์ที่น่าเป็นห่วง จากข้อมูลดังกล่าวสะท้อนถึงกระบวนการส่งเสริมสุขภาพ และการควบคุมป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ผ่านมา อาจยังไม่มีอิทธิพลเพียงพอที่จะทำให้ประชาชนทั่วไปและกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมดำรงชีวิตที่เหมาะสม จำเป็นต้องมีการพัฒนากระบวนการสื่อสารสุขภาพ(health listeracy) ให้ประชาชนทั่วไป รับรู้ในวงกว้าง และประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและต่อเนื่อง และจากการศึกษาประเมินผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง เบาหวาน-ความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลส่งเสริม พบว่าผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงขาดความรู้ในการดูแลตนเอง ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้คงที่  ไม่เคยได้รับการตรวจเท้า ไม่รู้ว่าทำไมต้องตรวจเลือด ไม่รู้วิธีการดูแลสุขภาพตนเอง ขาดความตระหนักในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง มีพฤติกรรมการดูแลตนเองไม่เหมาะสมทั้งเรื่องการรับประทานอาหาร การกินยา การออกกำลังกาย การดูแลระดับน้ำตาลในเลือด การดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ว่ามีความสำคัญอย่างไร นั้นแสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนและเกิดผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มมากขึ้นทุกปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และภาวะอ้วนลงพุง ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน
  2. เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน ได้มีความรู้เรื่องสาเหตุ การป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโดยให้มีบทบาทในการจัดการสุขภาพหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน
  3. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
  4. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการนวัตกรรมสุขภาพชุมชน เพื่อนช่วยเพื่อนห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้รับการดูแล และความรู้อย่างเหมาะสม เกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถนำนวัตกรรมชุมชนมาปฏิบัติตนในการดำรงชีวิตประจำวันที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการนวัตกรรมสุขภาพชุมชน เพื่อนช่วยเพื่อนห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

วันที่ 4 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมภาคีเครือข่าย/แกนนำ/คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย/เฝ้าระวัง/ติดตามผู้ป่วย ด้วยเครื่องนวัตกรรมสุขภาพชุมชน จำนวน 130 คน 2.กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย/ประเมินพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดัน กลุ่มเป้าหมาย 7,889 คน 3.กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงด้วยการนำนวัตกรรมชุมชน จำนวน 131 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีแกนนำสุขภาพที่ผ่านการอบรมและพัฒนาศักยภาพ พร้อมทั้งประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ การดูแลแบบผสมผสาน จำนวน 130 คน 2.ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันสูง ได้รับการติดตามดูแลเยี่ยมบ้าน เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน จากแกนนำสุขภาพและเจ้าหน้าที่ ทุกราย 3.เกิดชมรมเพื่อนช่วยเพื่อน ในการดูแลผู้ป่วย ม. 4, 5 ,6 เขารูปช้าง 4.เกิดนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ระบบดูแลและติดตามช่วยเหลือผู้ป่วยเบาหวาน และความดันสูง จากชุมชนโดยชุมชน

 

400 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และภาวะอ้วนลงพุง ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน
ตัวชี้วัด : ได้รับการคัดกรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน ได้มีความรู้เรื่องสาเหตุ การป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโดยให้มีบทบาทในการจัดการสุขภาพหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด : ปชช.อายุ 35 ปีขึ้นไป / ภาคีเครือข่ายแกนนำสุขภาพ มีความรู้และมีทักษะการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเรื้อรังไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ได้รับการขึ้นทะเบียน/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00

 

4 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : เกิดนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ระบบดูแลและติดตามช่วยเหลือผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงจากชุมชนโดยชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และภาวะอ้วนลงพุง ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน (2) เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน ได้มีความรู้เรื่องสาเหตุ การป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโดยให้มีบทบาทในการจัดการสุขภาพหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน (3) เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (4) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการนวัตกรรมสุขภาพชุมชน เพื่อนช่วยเพื่อนห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการนวัตกรรมสุขภาพ เพื่อนช่วนเพื่อนห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5215-1-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนำโชค ชำนาญวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด