กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่


“ โครงการใส่ใจสุขภาพคุ้มครองผู้บริโภค ต.ศาลาใหม่ ปี 2560 ”

ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายปัญญา อิสลามกุลนางสาวฟาตีนีพิริยศาสน์

ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจสุขภาพคุ้มครองผู้บริโภค ต.ศาลาใหม่ ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2487-1-0007 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการใส่ใจสุขภาพคุ้มครองผู้บริโภค ต.ศาลาใหม่ ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจสุขภาพคุ้มครองผู้บริโภค ต.ศาลาใหม่ ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการใส่ใจสุขภาพคุ้มครองผู้บริโภค ต.ศาลาใหม่ ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2487-1-0007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภารกิจงานคุ้มครองผู้บริโภค ประกอบด้วยการควบคุมมาตรฐานสถานประกอบการ การเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพหลังวางจำหน่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคและผู้ประกอบการรวมถึงการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่าย ซึ่งในปี ๒๕๕๙ ได้มีการจัดให้มีกิจกรรมในระดับ คปสอ.ตากใบ (คณะกรรมการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขอำเภอตากใบ) เช่น การอบรมอย.น้อยระดับอำเภอ การสอบตรวจมาตรฐาน Primary GMP ในกลุ่มผู้ผลิตขนาดเล็ก การตรวจสอบมาตรฐานร้านชำ การตรวจสอบมาตรฐานกลุ่มผู้ผลิตน้ำดื่ม ฯลฯ ซึ่งในตำบลศาลาใหม่มีกลุ่มผู้ผลิตขนาดเล็กระดับชุมชนได้รับเลขสารบบอาหาร และได้รับการรับรองสัญลักษณ์ อย. ฮาลาล และมผช. ได้แก่ กลุ่มผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชน ปูลารุงอรุ่ง (ขนมพื้นเมือง) และกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ไข่เค็มบ้านโคกมะเฟือง จากการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ศาลาใหม่ ในปี ๒๕๕๙ ยังพบปัญหาเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่ การขายยาอันตรายในร้านชำ อาหารฉลากไม่ครบถ้วน อาหารไม่มีฉลาก ไม่มีการควบคุมการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ ฯลฯ ทำให้ความสำเร็จในการดำเนินงานยังน้อย เช่น ร้านชำที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานถึง ๓๑ ร้าน ร้อยละ ๖๐.๖๘ (ตามเกณฑ์แบบตรวจ รช.นธ.๑) ร้านอาหาร/แผงลอย/ร้านก๋วยเตี๋ยวยังส่วนใหญ่ยังไม่ผ่านด้านกายภาพและยังพบการสูบบุหรี่ การดำเนินกิจกรรมอย.ในโรงเรียนไม่มีความต่อเนื่อง รวมไปถึงการปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะยังไม่เป็นรูปธรรมในหลายๆ ภาคส่วน สิ่งเหล่าจะส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนโดยตรงเนื่องจากประชาชนเป็นผู้บริโภค จึงจำเป็นจะต้องมีการควบคุมมาตรฐานผลิตภัณฑ์ต่างๆ และสร้างให้เกิดความร่วมมือของเครือข่ายต่างๆในพื้นที่ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดมาตรฐานที่ดี ที่จะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ปลอดโรคอย่างยั่งยืน ดังนั้น เพื่อเร่งแก้ไขปัญหาข้างต้นและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ศาลาใหม่จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ ๑ เพื่อส่งเสริมให้ร้านอาหาร ร้านค้า และกลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ มีมาตรฐาน
  2. ข้อที่ ๒ เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการเกิดความตระหนักในการร่วมสร้างสุขภาพอนามัยที่ดีของประชาชนในชุมชน
  3. ข้อที่ ๓ เพื่อให้มีการคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะอย่างเป็นรูปธรรม
  4. ข้อที่ ๔ เพื่อพัฒนาและส่งเสริมเครือข่าย อย.น้อย ในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 58
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้ประกอบการที่เป็นผู้จำหน่ายและผู้ผลิต มีการปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานมากขึ้น ๒. ประชาชนได้รับความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องในการเลือกซื้อสินค้าในการอุปโภคบริโภค ๓. สามารถบังคับการใช้กฎหมายในการคุ้มครองผู้บริโภค และคุ้มครองผู้ไม่สูบบุหรี่


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ ๑ เพื่อส่งเสริมให้ร้านอาหาร ร้านค้า และกลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ มีมาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : ร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐาน มากกว่าร้อยละ ๔๐

     

    2 ข้อที่ ๒ เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการเกิดความตระหนักในการร่วมสร้างสุขภาพอนามัยที่ดีของประชาชนในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐาน มากกว่าร้อยละ ๔๐

     

    3 ข้อที่ ๓ เพื่อให้มีการคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะอย่างเป็นรูปธรรม
    ตัวชี้วัด : สถานที่สาธารณะตามกฎหมายได้รับการจัดเป็นเขตปลอดบุหรี่ ร้อยละ ๑๐๐

     

    4 ข้อที่ ๔ เพื่อพัฒนาและส่งเสริมเครือข่าย อย.น้อย ในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน อย.น้อย มากกว่าระดับ ๓ อย่างน้อย ๒ โรงเรียน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 58
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 58
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑ เพื่อส่งเสริมให้ร้านอาหาร ร้านค้า และกลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ มีมาตรฐาน (2) ข้อที่ ๒ เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการเกิดความตระหนักในการร่วมสร้างสุขภาพอนามัยที่ดีของประชาชนในชุมชน (3) ข้อที่ ๓ เพื่อให้มีการคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะอย่างเป็นรูปธรรม (4) ข้อที่ ๔ เพื่อพัฒนาและส่งเสริมเครือข่าย อย.น้อย ในโรงเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการใส่ใจสุขภาพคุ้มครองผู้บริโภค ต.ศาลาใหม่ ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2487-1-0007

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายปัญญา อิสลามกุลนางสาวฟาตีนีพิริยศาสน์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด