กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง


“ โครงการส่งเสริมทันตกรรมเพื่อ "แม่ลูกฟันดี" ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายสามัน ดอเลาะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตกรรมเพื่อ "แม่ลูกฟันดี" ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3053-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 สิงหาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทันตกรรมเพื่อ "แม่ลูกฟันดี" ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตกรรมเพื่อ "แม่ลูกฟันดี" ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตกรรมเพื่อ "แม่ลูกฟันดี" ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3053-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 สิงหาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,990.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในหญิงตั้งครรภ์ และมีเด็กปฐมวัย ปัญหาสุขภาพช่องปากในหญิงตั้งครรภ์ จากการเป็นโรคปริทันต์จะส่งผลต่อคุณภาพของการตั้งครรภ์ และการคลอดของทรกๆด้ นอกจากนี้แม่ที่มีฟันผุยังส่งผลต่อการเกิดฟันผุในลูกด้วย โรคฟันผุในเด้กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก และอัตราการผุเพิ่มขึ้อย่างรวดเร็วในชาวงอายุ 1 - 3 ปี สาเหตุหลักที่ทำให้เด้กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถุกวิธี และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม ก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็บปวดเคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและส่งผลต่อการพัฒนาการการเจริยเติบโตของเด็กได้ จากผลการตรวจสอบสภาวะช่องปากของหญิงตั้วครรภ์ ที่มาฝากครรภ์ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นมา พบว่า หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการตรวจฟัน มีฟันผุ เหงือกอักเสบ และมีหินน้ำลาย ร้อยละ 96 และจากการสอบถามหญิงตั้งครรภ์ส่วนใหญ่ พบว่า ปัญหาดังกล่าวเกิดจากการละเลยการดูแลเอาใจใส่ในการดูแลำทความสะอาดช่องปาก ขาดทักษะการทำความสะอาดช่องปาก การเลือกบริโภคอาหารที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ และการไม่ได้รับบริการทางทันตกรรม เนื่องจากส่วนใหญ่แล้วต้องทำงาน ไม่มีเวลาดุแลสุขภาพช่องปาก ไม่มีเวลามารับบริการทันตกรรม เป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาทางทันตกรรมสุขภาพ และส่งผลต่อลูกได้ และจากผลการสำรวจสภาวะช้องปากของเด็กอายุ 3 ปี พบว่า ตั้งแต่ปี 2558 - 2560 เด็กอายุ 3 ปีมีฟันผุมากถึงร้อยละ 36.0,30.23 และ 24.8 ซึ่งพบว่า เด็กอายุ 3 ปีมีค่าปราศจากฟันผุลดลงเรื่อยๆ จากการสอบถามพฤติกรรมการดูแลเด็กอายุ พบว่าผู้ปกครองส่วนใหญ่ไม่แปรงฟันก่อนนอนให้ลูก เนื่องจากดูดนมเสร็จลูกก็หลับจึงไม่อยากรบกวนการนอนของลูก หรือไม่ก็ทำความสะอาดไม่ถูกวิธีและมีเด็กบางส่วนที่อยู่กับผู้ดูแลไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ จึงไม่ค่อยดูแลสุขภาพช่องปากเท่าที่ควร และยังพบอีกว่าผู้ปกครองส่วนใหญ่ไม่ให้ความใส่ใจต่อการเลือกบริโภคอาหารให้กับลูก จะตามใจลูกเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไขต่อไป   เพื่อเป็นการสร้างเสริมให้แม่และเด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี ทางฝ่ายทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะบิ้ง ได้เล็งเห็นความสำคัญและจัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้หญิงมีครรภ์และผู้ปกครองเด็กตระหนักถึงความสำคัญ และพฤติกรรมการเลี้ยงดูลูก ที่ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุในเด็กได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ที่มาฝากที่ รพ.สต.ตะบิ้ง ได้รับการส่งเสริมทันตกรรม
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 3 ปี ในตำบลตะบิ้งได้รับการส่งเสริมทันตกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 324
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 56
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้ดีขึ้น และสามารถดูแลสุขภาพช่องฟันของลูกได้
    2. เพื่อกระตุ้นให้หญิงมีครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก
    3. เพื่อให้หญิงมีครรภ์มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
    4. เพื่อผู้ปกครองสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและลูกได้จริง
    5. เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองและลูก
    6. ผู้ปกครองเด็กปรับและลดพฤติกรรมเสี่ยงการเลี้ยงดูที่เป็นสาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดโรคฟันผุในเด็ก

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้หญิงมีครรภ์ที่มาฝากที่ รพ.สต.ตะบิ้ง ได้รับการส่งเสริมทันตกรรม
    ตัวชี้วัด :
    56.00

     

    2 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 3 ปี ในตำบลตะบิ้งได้รับการส่งเสริมทันตกรรม
    ตัวชี้วัด :
    324.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 380
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 324
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 56
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงมีครรภ์ที่มาฝากที่ รพ.สต.ตะบิ้ง ได้รับการส่งเสริมทันตกรรม (2) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 3 ปี ในตำบลตะบิ้งได้รับการส่งเสริมทันตกรรม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมทันตกรรมเพื่อ "แม่ลูกฟันดี" ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 61-L3053-1-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสามัน ดอเลาะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด