กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่


“ โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ต.ศาลาใหม่ ปี 2560 ”

ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟาตีนีพิริยศาสน์

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ต.ศาลาใหม่ ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2487-1-003 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ต.ศาลาใหม่ ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ต.ศาลาใหม่ ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ต.ศาลาใหม่ ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2487-1-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,290.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ได้ดำเนินการโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิตามพระราชดำริฯสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ เป็นต้นมา โดยดำเนินการในโรงเรียน มีกิจกรรมหลักคือ การจ่ายยาถ่ายพยาธิในเด็กนักเรียน การตรวจอุจจาระในเด็กนักเรียนเพื่อค้นหาอัตราความชุกของโรคพยาธิ และการให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน ซึ่งประสบผลสำเร็จในระดับหนึ่ง จึงต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องตามโครงการพระราชดำริฯ ซึ่งโรงเรียนบ้านศาลาใหม่ และโรงเรียนจรรยาอิสลาม เป็นหนึ่งในโรงเรียนเป้าหมายของโครงการฯ จากการดำเนินงานตั้งแต่ ในปี ๒๕๕๖ รพ.สต.ศาลาใหม่ สนง.โครงการงานโรคติดต่อฯ ศูนย์พิกุลทอง โรงเรียนบ้านศาลาใหม่ และโรงเรียนจรรยาอิสลาม ได้ดำเนินการตรวจค้นหาไข่พยาธิในอุจจาระเด็กนักเรียนจำนวน ๕๙๒ คน ตรวจพบไข่พยาธิ จำนวน ๑๐๓ คน คิดเป็นอัตราความชุกของโรคพยาธิ ร้อยละ ๑๗.๔๐ ต่อมาในปี ๒๕๕๗ ได้ตรวจค้นหาไข่พยาธิในอุจจาระเด็กนักเรียนจำนวน ๑,๔๐๘ คน ตรวจพบไข่พยาธิ คิดเป็นอัตราความชุกของโรคพยาธิ ร้อยละ ๑๗.๙๔ ต่อมาในปี ๒๕๕๘ ได้ตรวจค้นหาไข่พยาธิในอุจจาระเด็กนักเรียนจำนวน ๑,๓๙๔ คน ตรวจพบไข่พยาธิ จำนวน ๔๔ คน คิดเป็นอัตราความชุกของโรคพยาธิร้อยละ ๓.๑๕ และล่าสุดในปี ๒๕๕๙ ได้ตรวจค้นหาไข่พยาธิในอุจจาระเด็กนักเรียนจำนวน ๑,๒๒๓ คน ตรวจพบไข่พยาธิ จำนวน ๑๓๑ คน คิดเป็นอัตราความชุกของโรคพยาธิ ร้อยละ ๑๐.๗๑ โดยผลการตรวจหาไข่พยาธิ ดังนี้ พบพยาธิแส้ม้า พยาธิไส้เดือน พยาธิมากกว่า ๑ ชนิด และพยาธิเข็มหมุด ร้อยละ ๕.๑๕, ๔.๐๘, ๑.๔ และ ๐.๐๘ ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าอัตราความชุกสูงกว่าปี ๒๕๕๘ (ร้อยละ ๓.๑๕) เนื่องจากปี ๒๕๕๘ มีกิจกรรมรณรงค์จ่ายยาในเด็กนักเรียนทุกคนก่อนดำเนินกิจกรรมรณรงค์ตรวจหาไข่พยาธิ ซึ่งต่างจากปี ๒๕๕๙ ที่ดำเนินกิจกรรมรณรงค์ตรวจหาไข่พยาธิก่อนดำเนินกิจกรรมรณรงค์จ่ายยาในเด็กนักเรียนทุกคน ส่งผลให้อัตราความชุก ปี ๒๕๕๙ สูงกว่าปี ๒๕๕๘ แต่ถึงอย่างไรจะเห็นว่าอัตราความชุกของโรคพยาธิในปี ๒๕๕๙ นั้นลดลงจากปี ๒๕๕๖ และปี ๒๕๕๗ มาก เป็นผลต่อเนื่องจากการดำเนินกิจกรรมหลายปี ทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างครู นักเรียน และจนท.สาธารณสุข นำไปสู่การแก้ไขปัญหาโรคพยาธิในเด็กนักเรียนอย่างมีส่วนร่วมมากขึ้น อัตราความชุกของโรคพยาธิจึงลดลงทุกปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่ จึงได้จัดโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ต.ศาลาใหม่ ปี 256๐ นี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑ เพื่อลดอัตราความชุกของโรคพยาธิในเด็กนักเรียน
  2. ๒ เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเอง และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคพยาธิ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1,036
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. เด็กนักเรียนทุกคนในโรงเรียนพระราชดำริ ได้รับการตรวจหาไข่พยาธิและได้กินยาถ่ายพยาธิทุกคน ๒. อัตราความชุกของโรคพยาธิในเด็กนักเรียนลดลง ๓. กลุ่มครู ผู้ปกครอง และเด็กนักเรียน มีความรู้ความตระหนักในการป้องกันตนเอง และมีส่วนร่วมในการดำเนินการแก้ไขปัญหาโรคพยาธิ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมเก็บตัวอย่างอุจจาระ

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เก็บตัวอย่างอุจจาระส่งตรวจ พบอัตราความชุกของโรค 7.62 %

     

    1,036 1,036

    2. จัดนิทรรศการ

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้และเข้าใจเรื่องพยาธิ และป้องกันตนเองจากพฤติกรรมเสี่ยงได้

     

    0 1,036

    3. ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายที่มีประวัติตรวจพบและนักเรียนทั่วไป

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ในการป้องกันและหลีกเลี่ยงการเกิดโรคพยาธิได้

     

    140 140

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    นักเรียนและผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการดำเนินงาน อัตราความชุกของโรคพยาธิลดลงจากค่ามตราฐาน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑ เพื่อลดอัตราความชุกของโรคพยาธิในเด็กนักเรียน
    ตัวชี้วัด : ๑. อัตราความชุกของโรคพยาธิในเด็กนักเรียนไม่เกินร้อยละ ๑๐

     

    2 ๒ เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเอง และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคพยาธิ
    ตัวชี้วัด : ๒. เด็กนักเรียนที่ส่งตัวอย่างสิ่งส่งตรวจมีมากกว่าร้อยละ 80 ของเด็กนักเรียนทั้งหมด

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1176
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1,036
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อลดอัตราความชุกของโรคพยาธิในเด็กนักเรียน (2) ๒ เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเอง และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคพยาธิ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ต.ศาลาใหม่ ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2487-1-003

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฟาตีนีพิริยศาสน์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด