ตุยงใส่ใจ ห่างไกลบุหรี่
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ตุยงใส่ใจ ห่างไกลบุหรี่ ”
อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ ตุยงใส่ใจ ห่างไกลบุหรี่
ที่อยู่ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ตุยงใส่ใจ ห่างไกลบุหรี่ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ตุยงใส่ใจ ห่างไกลบุหรี่
บทคัดย่อ
โครงการ " ตุยงใส่ใจ ห่างไกลบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาการสูบบุหรี่ในประเทศไทยทวีความรุนเเรง โดยเฉพาะอายุของนักสูบหน้าใหม่ที่มีเเนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งการสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ส่งผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมอย่างกว้างขวางและเป็นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่วย เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ทำให้รัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดูเเละรักษาเป็นจำนวนมาก จากข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของประชากร พ.ศ.2557 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า ประเทศไทยมีผู้สูบหรี่จำนวน 11.4 ล้านคน อัตราการสูบบุหรี่ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ร้อยละ 20.7 ต่อประชากรพันคน อยู่ในกลุ่มอายุ 25-59 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มวัยทำงานมากที่สุด ร้อยละ 23.5 รองลงมาคือกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 16.6 และกลุ่มอายุ 15-24 ปีร้อยละ 14.7 ตามลำดับ เป็นผู้ชายร้อยละ 40.5 และผู้หญิง ร้อยละ 2.2 โดยสูบจากโรงงานอย่างเดียวมากที่สุด 5.3 ล้านคน รองลงมาคือบุหรี่ม้วนเอง 4.2 ล้านคน และทั้งบุหรี่โงงานหรือบุหรี่ม้วนเอง คนไทยได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้านร้อยละ 28.1 มีนักสูบหน้าใหม่เกิดขึ้นราว 2-3 แสนคนต่อปี คนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ร้อยละประมาณ 52,000 คน เฉลี่ยวันละ 142 คน ชั่วโมงละ 6 คน เเละเสียชีวิตจาดกโรคที่เกิดจากบุหรี่ร้อยละ 12 ของการตายทั้งหมด ผู้ที่สูบบุหรี่มีโอกาสตายด้วยโรคมะเร็งมากกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ 20 เท่า ที่สำคัญ 1 ใน 4 เป็นเด็กเล็กที่ตายเพราะได้รับควันบุหรี่มือสอง หากการบริโภคยาสูบไม่เข้มเเข็งจะมีการตายด้วยโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ถึง 8 ล้านคนใน 20 ปี ข้างหน้า ซึ่งทางทีมจิตอาสาได้ตั้งเป้าหมายไว้ว่า ภายในเวลา 1 ปี ในการดำเนินการเพื่อลดอัตราจำนวนการสูบบุหรี่ของเด็กเเละเยาวชน จากปัจจุบันร้อยละ 40 ให้เหลือร้อยละ 35 ลดจำนวนผู้สูบหน้าใหม่จาก จากร้อยละ 15 ให้เหลือร้อยละ 10 และลดอัตราการสูบของผู้ใหญ่จาก ร้อยละ 50 ให้เหลือร้อยละ 45 ทางทีมงานจิตอาสาตำบลตุยงได้เล็งเห็นถึงปัญหาของการสูบบหรี่ซึ่งยังมีอยู่เป็นจำนวนมากพอสมควรที่จะต้องดำเนินการเเก้ไข จึงได้จัดโครงการตุยงใส่ใจ ห่างไกลบุหรี่ เพื่อชีวีมีสุข ปี 2562 ขึ้น เนื่องจากบุหรี่เป็นปัยจัยเสี่ยงของการเสียชีวิตอันดับต้นของคนไทยที่สามารถป้องกันได้โดยการช่วยเหลือให้ผู้สูบบุหรี่เลิกสูบ และป้องกันหรือลดจำนวนนักสูบหน้าใหม่ให้ห่างไกลจากการสูบบุหรี่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน
- เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี
- เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เยาวชนตุยงใส่ใจ ห่างไกลออเกาะ(บุหรี่)
- ตุยงรณรงค์ประชาสัมพันธ์ สร้างสรรค์สุขภาพ
- กิจกรรมติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานเกี่ยวกับการลด เลิกบุหรี่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
90
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กเเละเยาวชนมีจำนวนลดลง
- จำนวนความต้องการของผู่สูบบุหรี่รายใหม่ลดลง
- อัตราการสูบหรี่ของผู้ใหญ่ลดลง
- เยาวชนมีกิจกรรม ในพื้นที่ อย่างสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี และค่านิยมที่ถูกต้อง เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)
40.00
35.00
2
เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ (คน)
15.00
10.00
3
เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปลดลงเหลือ(ร้อยละ)
50.00
45.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
90
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (3) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เยาวชนตุยงใส่ใจ ห่างไกลออเกาะ(บุหรี่) (2) ตุยงรณรงค์ประชาสัมพันธ์ สร้างสรรค์สุขภาพ (3) กิจกรรมติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานเกี่ยวกับการลด เลิกบุหรี่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ตุยงใส่ใจ ห่างไกลบุหรี่ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ตุยงใส่ใจ ห่างไกลบุหรี่ ”
อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2562
ที่อยู่ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ตุยงใส่ใจ ห่างไกลบุหรี่ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ตุยงใส่ใจ ห่างไกลบุหรี่
บทคัดย่อ
โครงการ " ตุยงใส่ใจ ห่างไกลบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาการสูบบุหรี่ในประเทศไทยทวีความรุนเเรง โดยเฉพาะอายุของนักสูบหน้าใหม่ที่มีเเนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งการสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ส่งผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมอย่างกว้างขวางและเป็นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่วย เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ทำให้รัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดูเเละรักษาเป็นจำนวนมาก จากข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของประชากร พ.ศ.2557 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า ประเทศไทยมีผู้สูบหรี่จำนวน 11.4 ล้านคน อัตราการสูบบุหรี่ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ร้อยละ 20.7 ต่อประชากรพันคน อยู่ในกลุ่มอายุ 25-59 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มวัยทำงานมากที่สุด ร้อยละ 23.5 รองลงมาคือกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 16.6 และกลุ่มอายุ 15-24 ปีร้อยละ 14.7 ตามลำดับ เป็นผู้ชายร้อยละ 40.5 และผู้หญิง ร้อยละ 2.2 โดยสูบจากโรงงานอย่างเดียวมากที่สุด 5.3 ล้านคน รองลงมาคือบุหรี่ม้วนเอง 4.2 ล้านคน และทั้งบุหรี่โงงานหรือบุหรี่ม้วนเอง คนไทยได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้านร้อยละ 28.1 มีนักสูบหน้าใหม่เกิดขึ้นราว 2-3 แสนคนต่อปี คนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ร้อยละประมาณ 52,000 คน เฉลี่ยวันละ 142 คน ชั่วโมงละ 6 คน เเละเสียชีวิตจาดกโรคที่เกิดจากบุหรี่ร้อยละ 12 ของการตายทั้งหมด ผู้ที่สูบบุหรี่มีโอกาสตายด้วยโรคมะเร็งมากกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ 20 เท่า ที่สำคัญ 1 ใน 4 เป็นเด็กเล็กที่ตายเพราะได้รับควันบุหรี่มือสอง หากการบริโภคยาสูบไม่เข้มเเข็งจะมีการตายด้วยโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ถึง 8 ล้านคนใน 20 ปี ข้างหน้า ซึ่งทางทีมจิตอาสาได้ตั้งเป้าหมายไว้ว่า ภายในเวลา 1 ปี ในการดำเนินการเพื่อลดอัตราจำนวนการสูบบุหรี่ของเด็กเเละเยาวชน จากปัจจุบันร้อยละ 40 ให้เหลือร้อยละ 35 ลดจำนวนผู้สูบหน้าใหม่จาก จากร้อยละ 15 ให้เหลือร้อยละ 10 และลดอัตราการสูบของผู้ใหญ่จาก ร้อยละ 50 ให้เหลือร้อยละ 45 ทางทีมงานจิตอาสาตำบลตุยงได้เล็งเห็นถึงปัญหาของการสูบบหรี่ซึ่งยังมีอยู่เป็นจำนวนมากพอสมควรที่จะต้องดำเนินการเเก้ไข จึงได้จัดโครงการตุยงใส่ใจ ห่างไกลบุหรี่ เพื่อชีวีมีสุข ปี 2562 ขึ้น เนื่องจากบุหรี่เป็นปัยจัยเสี่ยงของการเสียชีวิตอันดับต้นของคนไทยที่สามารถป้องกันได้โดยการช่วยเหลือให้ผู้สูบบุหรี่เลิกสูบ และป้องกันหรือลดจำนวนนักสูบหน้าใหม่ให้ห่างไกลจากการสูบบุหรี่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน
- เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี
- เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เยาวชนตุยงใส่ใจ ห่างไกลออเกาะ(บุหรี่)
- ตุยงรณรงค์ประชาสัมพันธ์ สร้างสรรค์สุขภาพ
- กิจกรรมติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานเกี่ยวกับการลด เลิกบุหรี่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 90 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 10 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กเเละเยาวชนมีจำนวนลดลง
- จำนวนความต้องการของผู่สูบบุหรี่รายใหม่ลดลง
- อัตราการสูบหรี่ของผู้ใหญ่ลดลง
- เยาวชนมีกิจกรรม ในพื้นที่ อย่างสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี และค่านิยมที่ถูกต้อง เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ) |
40.00 | 35.00 |
|
|
2 | เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ (คน) |
15.00 | 10.00 |
|
|
3 | เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่ ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปลดลงเหลือ(ร้อยละ) |
50.00 | 45.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 90 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 10 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (3) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เยาวชนตุยงใส่ใจ ห่างไกลออเกาะ(บุหรี่) (2) ตุยงรณรงค์ประชาสัมพันธ์ สร้างสรรค์สุขภาพ (3) กิจกรรมติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานเกี่ยวกับการลด เลิกบุหรี่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ตุยงใส่ใจ ห่างไกลบุหรี่ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......