กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการเด็กศูนย์ห้วยเรือ ยิ้มสดใสฟันสวยด้วยมือเรา ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดห้วยเรือ

ชื่อโครงการ โครงการเด็กศูนย์ห้วยเรือ ยิ้มสดใสฟันสวยด้วยมือเรา

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3339-03-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กศูนย์ห้วยเรือ ยิ้มสดใสฟันสวยด้วยมือเรา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กศูนย์ห้วยเรือ ยิ้มสดใสฟันสวยด้วยมือเรา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กศูนย์ห้วยเรือ ยิ้มสดใสฟันสวยด้วยมือเรา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3339-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะฟันน้ำนมผุในเด็กเล็ก ทำให้เกิดปัญหาต่างๆตามมาหลายประการ เช่น ความเจ็บปวดทรมานความแปรผันทางอารมณ์ การสูญเสียฟันน้ำนมกก่อนเวลาอันสมควรทำให้เด็กเคี้ยวอาหารลำบากส่งผลโดยตรงต่อการเจริญเติบโตของเด็ก บุคลิกภาพ และการเริ่มมีฟันน้ำนมผุในซี่ใดซี่หนึ่งจะมีผลต่อการผุของฟันน้ำนมอื่นๆและฟันแท้ที่เริ่มงอกด้วย ซึ่งจะส่งผลเสียต่อสุขภาพโดยรวมในระยะยาว ประเทศไทยได้ดำเนินการส่งเสริมและป้องกันฟันผุเด็กปฐมวัยในระบบบริการภาครัฐมาตั้งแต่ปี ๒๕๓๕ ตามแผนพัฒนาสาธารณสุขฉบับที่ ๗ จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงสุขภาพช่องปากทุกระยะ ๕ ปี (ปี พ.ศ.๒๔๔๙-๕๐ และ พ.ศ.๒๕๕๕) พบว่าอัตราการเกิดโรคฝันผุในเด็กปฐมวัยเริ่มลดลง จากร้อยละ ๖๑.๔ เป็นร้อยละ ๕๖.๗ ในแผนการดำเนินงานปี ๒๕๕๖ กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายด้านการส่งเสริมสุขภาพในเด็กปฐมวัยโดยกำหนดให้มีการแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย ร้อยละของเด็กอายุ ๓ ปีมีฟันผุไม่เกินร้อยละ ๕๗ ปัจจุบันสังคมไทยให้ความสำคัญกับระบบสุขภาพที่มุ่งเน้นให้มีพัฒนาการของเด็กทั้งร่างกาย สติปัญญาและอารมณ์ การส่งเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันโรคฟันผุสามารถทำได้โดยการเริ่มที่บ้านผู้เลี่้ยงดูเด็กให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก บุคลากรสาธารณสุขจะเป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุนให้พ่อแม่ผู้เลี้ยงดูเด็กตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลช่องปากและสามารถดูแลสุขภาพเด็กได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังทำการตรวจคัดกรองเด็ก ๙-๑๒,๑๘ และ ๓๐ เดือน และประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุในคลินิกสุขภาพเด็กดี โดยตรวจการมีแผ่นคราบจุลินทรีย์ มีฟันผุระยะแรก มีความผิดปกติของผิวฟันและสอบถามพฤติกรรมการกิจของเด็ก การแปรงฟัน การได้รับฟลูออไรด์ เมื่อประเมินความเสี่ยงของเด็กแล้วพบว่าเด็กที่มีความเสี่ยงต่ำจะให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพช่องปาก เด็กที่มีความเสี่ยงสูงจะเพิ่มการสาธิตการแปรงฟันแก่ผู้ปกครอง เด็กที่มีความเสี่ยงสูงและมีฟันผุในระยะแรกหรือมีความผิดปกติที่ผิวฟันจะส่งต่อทันตบุคลากรหรือบุคลากรที่ได้รับการอบรมเพิ่มเติม เพื่อทาฟลูออไรด์ในการดำเนินงานนี้หากมีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ก็สามารถนำข้อมูลเหล่านี้มาวิเคราะห์ใช้ประโยชน์ในการวินิจฉัยสาเหตุ/ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดโรคฟันผุในเด็ก การตั้งเป้าหมายและตัวชี้วัดตลอดจนการออกแบบกิจกรรมและการให้บริการและนำมาใช้จัดทำแผนงาน/โครงการในการแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพฟันเด็กที่ถูกต้อง
  2. ๒.เพื่อให้เด็กมีสุขภาพในช่องปากที่ดี มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแปรงพันที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 44
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.เด็กอายุ ๓-๔ ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและเคลือบฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ ๘๔ ๒.เด็กอายุ ๓-๔ ปี มีอัตราฟันผุลดลง ๓.ผู้ปกครองเด็กมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันของเด็ก ๓-๔ ปี ๔.เด็กอายุ ๓-๔ ปี ได้รับการดูแลช่องปากและฟันอย่างถูกต้อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ส่งรายงานสรุปผลการทำโครงการ เป็นรูปเล่ม

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพฟันเด็กที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ๑.ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายเข้าโครงการ

     

    2 ๒.เพื่อให้เด็กมีสุขภาพในช่องปากที่ดี มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแปรงพันที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ๒.ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น ๓.ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพช่องปากที่ดีเพิ่มขึ้น

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 44
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 44
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพฟันเด็กที่ถูกต้อง (2) ๒.เพื่อให้เด็กมีสุขภาพในช่องปากที่ดี มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแปรงพันที่ถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเด็กศูนย์ห้วยเรือ ยิ้มสดใสฟันสวยด้วยมือเรา จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3339-03-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดห้วยเรือ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด