กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่


“ โครงการวัยเรียนวัยใส รักสุขภาพ ตำบลศาลาใหม่ ปี 2560 ”

ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบลาส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่

ชื่อโครงการ โครงการวัยเรียนวัยใส รักสุขภาพ ตำบลศาลาใหม่ ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2487-1-0013 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยเรียนวัยใส รักสุขภาพ ตำบลศาลาใหม่ ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยเรียนวัยใส รักสุขภาพ ตำบลศาลาใหม่ ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยเรียนวัยใส รักสุขภาพ ตำบลศาลาใหม่ ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2487-1-0013 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กวัยเรียนคือเด็กที่มีอายุระหว่าง 6-19 ปี ซึ่งกำลังศึกษาทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา โรงเรียนเป็นที่รวมของเด็กนักเรียน ซึ่งมาจากที่ต่างๆกัน มีฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดล้อมและพฤติกรรมอนามัยที่แตกต่างกันไป โรคที่พบในเด็กนักเรียนและอุบัติเหตุต่างๆ อาจเกิดขึ้นได้เสมอ หากนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนทราบแนวทางปฏิบัติต่างๆ ในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นแล้ว ก็สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันให้ปลอดภัยได้ และจากการศึกษาโดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เมื่อปี พ.ศ. 2544 ได้รายงานว่า ประชากรกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน (6 - 21 ปี) มีจำนวน 17.022 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 27.4 ของประชากรทั้งประเทศ จำนวนวัยรุ่น อายุระหว่าง 15 - 24 ปี 10.62 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 17.1 ของประชากรทั้งประเทศ สถานการณ์ด้านสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นโรคต่าง ๆ ดังนี้ ภาวการณ์เจริญเติบโตบกพร่อง ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ปัญหายาเสพติดภาวะทันตสุขภาพ (โรคฟันผุ โรคเหงือก) ความผิดปกติของอวัยวะการเรียนรู้ โรคที่เป็นผลจากสุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ดี โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โรคติดเชื้อ/โรคติดต่อ อุบัติเหตุ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์/HIV/เอดส์ และปัญหาสุขภาพจิต (http://tsl.tsu.ac.th/courseware/school) จากบริบทสังคมในพื้นที่ตำบลศาลาใหม่ที่มีประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ที่มีการส่งเสริมให้ประชากรกลุ่มเยาวชนสร้างครอบครัวมากกว่าการได้รับการศึกษาในระดับที่สูง และไม่ส่งเสริมให้มีการคุมกำเนิด เนื่องด้วยปัจจัยหลายๆด้าน เช่นหลักคำสอนของอิสลาม ด้านสังคม เศรษฐกิจ ฯลฯ ส่งผลให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่ มีการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กจำนวนมาก ซึ่งการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กนั้นมีเป้าหมายที่สำคัญประการหนึ่ง คือ การตั้งครรภ์ การคลอดต้องมีคุณภาพ มารดาและทารกต้องปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อน มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง จากการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่ ปี 2559 พบว่าหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ทั้งหมดจำนวน 190 คน พบหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น (อายุต่ำกว่า 20 ปี) จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 6.3 พบหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดใกล้คลอด จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 12.12 ซึ่งภาวะซีดใกล้คลอดทำให้เกิดความเสี่ยงต่อภาวะตกเลือดในช่วงคลอด และทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการกำเนิดทารกน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (ต่ำกว่า 2,500 กรัม) ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการ สติปัญญา และการเรียนรู้ของเด็กต่ำไปด้วย จากรายงาน ปี 2559 ไม่พบมารดาตาย ไม่พบทารกคลอดตาย แต่พบทารกน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 10.90 และจากการดำเนินงานอนามัยโรงเรียนและงานควบคุมโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่ ปี 2559 พบเด็กนักเรียนทั้งหมด 1,913 คน (ทั้ง 5 โรงเรียน: โรงเรียนบ้านโคกมะเฟือง, โรงเรียนบ้านศาลาใหม่, โรงเรียนบ้านคลองตัน, โรงเรียนบ้านปูลาเจ๊ะมูดอ และโรงเรียนจรรยาอิสลาม) ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีทุกคน ร้อยละ 100 พบว่าอัตราป่วยด้วยโรคหิดเหา จำนวน 648 คน คิดเป็นร้อยละ 33.87 ได้รับการรักษาแล้วบางส่วน แต่พบปัญหาข้อจำกัดหลายอย่าง เช่นยารักษาหิดเหาไม่เพียงพอ การรักษาทำไม่พร้อมกันทำให้เกิดปัญหาการเกิดโรคซ้ำ และพบโรคอุจจาระร่วงในกลุ่มอายุวัยเรียน (5-15 ปี) จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 22.72 จากอัตราป่วยทั้งตำบล จะเห็นได้พบปัญหาที่เกิดในวัยเรียนมากมายซึ่งจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพและการเรียนรู้ต่อไป ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์คลอดในกลุ่มวัยรุ่น อายุต่ำกว่า 20 ปี
  2. 2 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ และความตระหนักให้วัยรุ่นในการสร้างครอบครัวที่เข้มแข็ง
  3. 3.เพื่อป้องกันควบคุมโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่และในกลุ่มวัยเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 126
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. โรคที่เป็นปัญหาในกลุ่มวัยเรียนมีอัตราที่ลดลง
    2. กลุ่มวัยเรียนมีสุขภาพแข็งแรงพร้อมเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่
    3. กลุ่มครู กลุ่มผู้ปกครอง และกลุ่มวัยเรียนวัยรุ่นมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพมากขึ้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รับความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการวางแผนครอบครัว

     

    30 30

    2. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการควบคุมโรค

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้

     

    126 500

    3. รณรงค์กำจัดหิดเหา

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดกิจกรรมกำจัดหิดเหาพร้อมกันทั้งโรงเรียน

     

    500 500

    4. รรรงค์กินอาหารร้อน ใช้ช้อนกลาง ล้างมือ

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้ในการป้องกันโรค

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์คลอดในกลุ่มวัยรุ่น อายุต่ำกว่า 20 ปี
    ตัวชี้วัด : 1. ไม่พบหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นมีเชื้อ HIV

     

    2 2 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ และความตระหนักให้วัยรุ่นในการสร้างครอบครัวที่เข้มแข็ง
    ตัวชี้วัด : 2หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นตั้งครรภ์คลอดในวัยอายุต่ำกว่า ๒๐ ปี น้อยกว่าร้อยละ 10

     

    3 3.เพื่อป้องกันควบคุมโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่และในกลุ่มวัยเรียน
    ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วยด้วยโรคเหาในกลุ่มเด็กนักเรียนลดลงจากปี 2559 ร้อยละ 90 2.ไม่พบผู้ป่วยเรื้อนพิการในกลุ่มเด็กนักเรียน 3.ไม่พบโรคไข้เลือดออกในกลุ่มเด็กนักเรียน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 126
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 126
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์คลอดในกลุ่มวัยรุ่น อายุต่ำกว่า 20 ปี (2) 2 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ และความตระหนักให้วัยรุ่นในการสร้างครอบครัวที่เข้มแข็ง (3) 3.เพื่อป้องกันควบคุมโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่และในกลุ่มวัยเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการวัยเรียนวัยใส รักสุขภาพ ตำบลศาลาใหม่ ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2487-1-0013

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบลาส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด