กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการผักสวนครัว หนูทำเอง ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายนาวาวี หะยียาการียา

ชื่อโครงการ โครงการผักสวนครัว หนูทำเอง

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2480-3-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 เมษายน 2562 ถึง 18 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผักสวนครัว หนูทำเอง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผักสวนครัว หนูทำเอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผักสวนครัว หนูทำเอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2480-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 เมษายน 2562 - 18 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,165.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัย ถือเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต แต่ในปัจจุบันเด็กปฐมวัยไม่ค่อยชอบทานผัก หรือถ้าหากได้ทานผัก ผักส่วนใหญ่ผู้ปกครองจะซื้อมาจากตลาด ทำให้เด็กอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง เนื่องจากเด็กต้องบริโภคอาหารผัก ที่ไม่ปลอดภัยไม่ปลอดสารพิษ ทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายเป็นระยะเวลานาน อาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคชนิดต่างๆ ได้แนะแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะความเสี่ยงด้านสุขภาพต้องให้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายที่กระตุ้นให้เด็ก และผู้ปกครอง ได้เห็นคุณค่าและความสำคัญของการดูแลสุขภาพที่สามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน การส่งเสริมกิจกรรมทางสุขภาพที่มีความหลากหลายวิธีควบคู่กันไป จะช่วยสร้างโอกาสให้สุขภาพเด็กไทยได้รับการคุ้มครองอย่างปลอดภัย ปัจจุบันศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจูโวะ มีจำนวนนักเรียน 25 คน อายุตั้งแต่ 2-5 ปี ซึ่งเป็นวัยที่ไม่ชอบรับประทานผักและการที่เด็กไม่ชอบกินผักถือเป็นปัญหาที่แก้ยากสำหรับเด็กวัยนี้ดังนั้นทางศูนย์ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยรักสุขภาพกินผักปลอดสารพิษเป็นการใช้วิธีการปลูกฝังนิสัยรักการกินผัก โดยเริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการปลูก ให้เด็กได้มีส่วนร่วมลงมือปฏิบัติจริง แล้วนำผักเด็กปลูกเองมาทำอาหารให้เด็กรับประทานร่วมกันและก็มีส่วนร่วมในการปรุงอาหารด้วย จะทำให้เด็กเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง และส่งผลให้เด็กมีความรักการกินมากยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่่ออบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับประโยชน์ของการทานผักวิธีการเลือกผักทีปลอดสารพิษ
  2. เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักประโชน์ของการทานผัก และร่วมกิจกรรมการปลูกและดูแลผัก
  3. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคผักของเด็กภายในศูนย์เด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับคุณค่าและประโยชน์ขงอการทานผักและวิธเลือกรับประทานผักท่ีปลอดสารพิษ 2.สาธิตวิธีการล้างผักและประกบอาหารที่ถูกสุขอนามัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 29
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้เด็กชอบที่จะรับประทานผักมากขึ้น ทำให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
  2. ผู้ปกครองรู้จักเลือกผักที่ปลอดสารพิษให้แก่บุตรหลาน และรู้ถึงประโยชน์ของการทานผัก
  3. เด็กได้รับประทานผักที่ปลอดภัยมีประโยชน์และได้รับอาหารครบทั้ง 5 หมู่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับคุณค่าและประโยชน์ขงอการทานผักและวิธเลือกรับประทานผักท่ีปลอดสารพิษ 2.สาธิตวิธีการล้างผักและประกบอาหารที่ถูกสุขอนามัย

วันที่ 18 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. จัดทำแผนและดำเนินงานตามโครงการฯซึ่งมีกิจกรรมดังนี้ 1 จัดประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อชี้แจงโครงการ และร่วมวางแผนการดำเนินโครงการ 2 จัดอบรมครูผู้ดูแลเด็กร่วมกับตัวแทนผู้ปกครองเด็ก เพื่อให้มีความรู้ในการดูแลเด็กให้มีพัฒนาการดี ปลอดภัย สร้างความตระหนักถึงความสำคัญของสุขภาพเด็กที่จะส่งผลต่อพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ในช่วงวัยที่ต้องได้รับการดูแลในศูนย์เด็กเล็ก 3 สาธิตกิจกรรมเสริมทักษะการดูแลตนเองให้ปลอดโรคสำหรับเด็ก ได้แก่ทักษะการล้างมือ ทักษะการแปรงฟัน การเลือกกินอาหารที่ถูกต้อง 4. ประเมินผลกิจกกรมโครงการและสรุปผลการดำเนินงานเสนอคณะกรรมการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทำให้ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของการทานผักวิธีการเลือกผักทีปลอดสารพิษ 2.ทำให้นักเรียนได้รู้จักประโชน์ของการทานผัก และร่วมกิจกรรมการปลูกและดูแลผัก 3.เป็นการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคผักของเด็กภายในศูนย์เด็กเล็ก

 

29 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่่ออบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับประโยชน์ของการทานผักวิธีการเลือกผักทีปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : มีการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเกียวกับประโยชน์ของการทานผัก วิธีการเลือกผักที่ปลอดสารพิษ ร้อยละ 80
29.00 29.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักประโชน์ของการทานผัก และร่วมกิจกรรมการปลูกและดูแลผัก
ตัวชี้วัด : มีการจัดกิจกรรมการปลูผักสวนครัวและการเพาะผักต่าๆให้แก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ร้อยละ 82
29.00 29.00

 

3 เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคผักของเด็กภายในศูนย์เด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : มีการจัดกิจกรรมทำอาหารจากผัก ร้อยละ 85
29.00 29.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 29 29
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 29 29
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่่ออบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับประโยชน์ของการทานผักวิธีการเลือกผักทีปลอดสารพิษ (2) เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักประโชน์ของการทานผัก และร่วมกิจกรรมการปลูกและดูแลผัก (3) เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคผักของเด็กภายในศูนย์เด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับคุณค่าและประโยชน์ขงอการทานผักและวิธเลือกรับประทานผักท่ีปลอดสารพิษ 2.สาธิตวิธีการล้างผักและประกบอาหารที่ถูกสุขอนามัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผักสวนครัว หนูทำเอง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2480-3-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนาวาวี หะยียาการียา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด