กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ แผนงานการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ

ชื่อโครงการ แผนงานการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-50119-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"แผนงานการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " แผนงานการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-50119-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,875.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคมโดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ ที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยได้มีการนำแผนที่ยุทธศาสตร์(Strategy Map) หรือแผนสุขภาพชุมชนมาเป็นเครื่องมือบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่แบบบูรณาการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการติดตามผลการดำเนินงานกองทุนสุขภาพ ฯ พร้อมทั้งการค้นหากองทุน ฯ ต้นแบบ ที่มีผลงานดีเด่นด้านการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพทั้งนี้เริ่มต้นตั้งแต่ ปี 2549จนถึงปีปัจจุบัน ปี 2557 ตามระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน พ.ศ.2557 กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ จัดทำและพิจารณาให้ความเห็นชอบแผนกองทุน รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี และจัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ต่างๆในการบริหารจัดการกองทุนฯ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพในพื้นที่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพอื่น
  2. 2. เพื่อให้คณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องได้เข้าใจการบริหาร กองทุนไปในทิศทางเดียวกัน
  3. 3. เพื่อให้เกิดการประชาสัมพันธ์ และเพื่อการส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่โดยเน้นให้เกิดการมี ส่วนร่วมกันแบบบูรณาการ
  4. 4. เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการกองทุนหลักประกันสุขภาพประจำปี
  5. 5. เพื่อเป็นการติดตามผลการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
  6. เพื่อพิจารณาโครงการแต่ละประเภทที่เสนอมา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 25

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารระบบหลักปะกันสุขภาพในพื้นที่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพอื่น
    2. ทำให้คณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องได้เข้าใจการบริหารกองทุนไปในทิศทางเดียวกัน
    3. ทำให้เกิดการประชาสัมพันธ์ และเพื่อการส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่โดยเน้นให้เกิดการมีส่วนร่วมกันแบบบูรณาการ
    4. จัดทำแผนปฏิบัติการกองทุนหลักประกันสุขภาพประจำปี
    5. สามารถติดตามผลการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
    6. ค้นหานำเสนอนวัตกรรมและคัดเลือกพื้นที่ที่มีการดำเนินงานระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ที่มีผลงานดีเด่น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. - ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการฯ - ค่าใช้จ่ายในการอบรมและศึกษาดูงาน- ค่าวัสดุ อุปกรณ์ และ ครุภัณฑ์สำนักงาน-ค่าใช้จ่ายในการจัด ประชุมต่างๆ ของกองทุน-ค่าใช้จ่ายอื่นๆ

    วันที่ 14 พฤศจิกายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการได้พิจารณาอนุมัติแผนสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ่อหิน ประจำปี 2560

     

    30 25

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพในพื้นที่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพอื่น
    ตัวชี้วัด : คณะกรรมการและตัวแทนชุมชนที่เข้าร่วมฯ

     

    2 2. เพื่อให้คณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องได้เข้าใจการบริหาร กองทุนไปในทิศทางเดียวกัน
    ตัวชี้วัด : คณะกรรมการและตัวแทนชุมชนที่เข้าร่วมฯ

     

    3 3. เพื่อให้เกิดการประชาสัมพันธ์ และเพื่อการส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่โดยเน้นให้เกิดการมี ส่วนร่วมกันแบบบูรณาการ
    ตัวชี้วัด : จัดประชุมจำนวน 4 ครั้ง

     

    4 4. เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการกองทุนหลักประกันสุขภาพประจำปี
    ตัวชี้วัด : คณะกรรมการและตัวแทนชุมชนที่เข้าร่วมฯ

     

    5 5. เพื่อเป็นการติดตามผลการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
    ตัวชี้วัด : คณะกรรมการและตัวแทนชุมชนที่เข้าร่วมฯ

     

    6 เพื่อพิจารณาโครงการแต่ละประเภทที่เสนอมา
    ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่ได้รับการพิจารณา

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 25

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพในพื้นที่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพอื่น (2) 2. เพื่อให้คณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องได้เข้าใจการบริหาร กองทุนไปในทิศทางเดียวกัน (3) 3. เพื่อให้เกิดการประชาสัมพันธ์ และเพื่อการส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่โดยเน้นให้เกิดการมี ส่วนร่วมกันแบบบูรณาการ (4) 4. เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการกองทุนหลักประกันสุขภาพประจำปี (5) 5. เพื่อเป็นการติดตามผลการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (6) เพื่อพิจารณาโครงการแต่ละประเภทที่เสนอมา

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    แผนงานการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-50119-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด