กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากู


“ โครงการวิกฤติโรคหัวใจ ปลอดภัยทั่วตำบลปากู ”

ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากู

ชื่อโครงการ โครงการวิกฤติโรคหัวใจ ปลอดภัยทั่วตำบลปากู

ที่อยู่ ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2988-1-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กันยายน 2561 ถึง 21 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวิกฤติโรคหัวใจ ปลอดภัยทั่วตำบลปากู จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวิกฤติโรคหัวใจ ปลอดภัยทั่วตำบลปากู



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวิกฤติโรคหัวใจ ปลอดภัยทั่วตำบลปากู " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L2988-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กันยายน 2561 - 21 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปี 2557 ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด 58,681 คน หรือเฉลี่ยชั่วโมงละ 7 คน คิดเป็นอัตราตายของโรคหัวใจและหลอดเลือด เท่ากับ 90.34 ต่อแสนประชากร จำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดและหัวใจ 18,079 คน หรือเฉลี่ยชั่วโมงละ 2 คน คิดเป็นอัตราตายของโรคหลอดเลือดและหัวใจ เท่ากับ 27.83 ต่อแสนประชากร ดังนั้นในแผนกลยุทธ หรือแผนพัฒนาสุขภาพโรคหัวใจและหลอดเลือดจะถูกจัดเปนสวนหนึ่งในแผนพัฒนา และเป็นการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี ปี 2561-2564 จัดอยู่ในหมวดยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence) แผนที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) และโครงการที่ 9 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคหัวใจ และยังเป็น Bright spot ของคปสอ.ทุ่งยางแดงอีกด้วย
  จากการปฏิบัติงานในพื้นที่ ได้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุการเสียชีวิต ในแต่ละปี พบผู้เสียชีวิตที่เกิดภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันเสียชีวิตก่อนวัยอันควรเพิ่มมากขึ้น จาก 2 ราย ในปี 2557 เพิ่มเป็น 7 ราย ในปี 2560 (รายงานผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากู, 2557) ซึ่งจากการสำรวจ และจากการลงเยี่ยมบ้านในพื้นที่ พบว่า จำนวนผู้เสียชีวิตกลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่วินิจฉัยจากแพทย์ที่โรงพยาบาลแม่ข่ายว่า เสียชีวิตจากสาเหตุภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน รวมทั้งความครอบคลุมในการตรวจคัดกรองไม่พบข้อมูลการลงทะเบียนกลุ่มผู้ป่วยที่เสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในทะเบียนของหน่วยบริการ จึงทำให้ผู้เสียชีวิตกลุ่มนี้ขาดการดูแลคัดกรองเบื้องต้น รวมทั้งกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดที่ผ่านการคัดกรองแล้ว ก็ยังไม่รู้จักอาการของโรคเกี่ยวกับโรคหัวใจและหลอดเลือดว่าคืออะไร และต้องปฏิบัติตัวอย่างไร ดังนั้น เพื่อป้องกันการเกิดภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในชุมชน ประชาชนในชุมชนควรได้รับการตรวจคัดกรอง และถ้าคัดกรองพบเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด ประชาชนในพื้นที่ควรได้รับความรู้เบื้องต้น เพื่อป้องกันการเกิดภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน   ปัจจุบันการบริหารจัดการด้านสุขภาพ เป็นระบบบริการสุขภาพแบบเชิงรุกที่ครอบคลุมในด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การดูแลรักษาโรค การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสภาพ เน้นการทำงานเป็นทีม  สหสาขาวิชาชีพ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากู ได้เห็นความสำคัญและเน้นการบริการดูแลประชาชนเชิงรุกต้องเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็ว ไม่เป็นอุปสรรคสำหรับกลุ่มเป้าหมาย และผู้ให้บริการ ซึ่งอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่เป็นบุคลากรที่สามารถเข้าไปให้บริการถึงบ้านได้ ประกอบกับได้รับการฝึกอบรมทั้งด้านความรู้ และทักษะในการใช้เครื่องมือการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค (Color Chart) ทั้งที่ได้ปฏิบัติในคลินิกโรคเรื้อรังในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากู ทุกวันพฤหัสบดีของทุกสัปดาห์ รวมทั้งการปฏิบัติงานจิตอาสาของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ได้ปฏิบัติงานเป็นที่ยอมรับเชื่อถือของผู้มารับบริการโดยตลอด   จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นจึงเกิดแนวคิดในการปฏิบัติการเชิงรุกในการให้บริการติดตามกลุ่มผู้ป่วยโรคหัวใจ และกลุ่มผู้ป่วยโอกาสเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด เพื่อป้องกันภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันถึงบ้านได้อย่างครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย และรวดเร็ว ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่งเสริมการสร้างสุขภาพที่ดีให้แก่ประชาชนในระยะยาว เน้นให้ประชาชนพึ่งตนเองในด้านสุขภาพ โดยการจัดกิจกรรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ป่วยกับผู้ป่วย ผู้ป่วยกับกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มเสี่ยงกับกลุ่มเสี่ยง ผ่านการถ่ายทอดประสบการณ์ที่ผ่านมาในการช่วยแก้ปัญหาซึ่งกันและกัน ภายใต้การให้คำแนะนำ และการสนับสนุนของฝ่ายผู้ให้บริการสุขภาพ ซึ่งประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล และทีมสุขภาพ เพื่อป้องกันภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Acute Coronary Syndrome: ACS)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจ ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจ ญาติผู้ป่วย และอสม.ในพื้นที่ มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคหัวใจ การดูแลตนเอง และจัดการตนเองเบื้องต้นเมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจ ได้ถูกต้องและปลอดภัย ๒.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจ ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจ ญาติผู้ป่วย และอสม.ในพื้นที่ มีทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติการเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) เมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจ ได้ถูกต้องและปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้ป่วยโรคหัวใจ ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจ ญาติผู้ป่วย และอสม.ในพื้นที่มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคหัวใจ การดูแลตนเอง และจัดการตนเองเบื้องต้นเมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจ  ได้ถูกต้องและปลอดภัย   ๒. ผู้ป่วยโรคหัวใจ ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจ ญาติผู้ป่วย และอสม.ในพื้นที่มีทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติการ เรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) เมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจ    ได้ถูกต้องและปลอดภัย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจ ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจ ญาติผู้ป่วย และอสม.ในพื้นที่ มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคหัวใจ การดูแลตนเอง และจัดการตนเองเบื้องต้นเมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจ ได้ถูกต้องและปลอดภัย ๒.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจ ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจ ญาติผู้ป่วย และอสม.ในพื้นที่ มีทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติการเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) เมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจ ได้ถูกต้องและปลอดภัย
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจ ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจ ญาติผู้ป่วย และอสม.ในพื้นที่          มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคหัวใจ การดูแลตนเอง และจัดการตนเองเบื้องต้นเมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจ ได้ถูกต้องและปลอดภัย     ๒.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจ ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจ ญาติผู้ป่วย และอสม.ในพื้นที่        มีทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติการเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) เมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจ ได้ถูกต้องและปลอดภัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการวิกฤติโรคหัวใจ ปลอดภัยทั่วตำบลปากู จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 61-L2988-1-12

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากู )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด