กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้มีภาวะเสี่ยง ลดพุง ลดโรค ”

ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางลาวัณย์ แดงปรก

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้มีภาวะเสี่ยง ลดพุง ลดโรค

ที่อยู่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3332-1-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กันยายน 2561 ถึง 25 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้มีภาวะเสี่ยง ลดพุง ลดโรค จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้มีภาวะเสี่ยง ลดพุง ลดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้มีภาวะเสี่ยง ลดพุง ลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3332-1-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กันยายน 2561 - 25 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคหัวใจและหลอดเลือด เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดส่งผลให้เลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญในร่างกายอุดตัน หรืออาจถึงขั้นเส้นเลือดแตก โดยเฉพาะหากเกิดกับหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองและหัวใจ อาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ เป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่คร่าชีวิตพลเมืองโลกมากที่สุด จากสถิติพบว่า ในทุกๆ ๒ นาทีจะมีคนเสียชีวิตด้วยโรคนี้ ๑ คน  องค์การอนามัยโลก ได้ทำนายไว้ว่าใน ปี ๒๕๗๓ ประชากรโลกจำนวน ๒๓ ล้านคน จะเสียชีวิตจากโรคหลอดสมอง และหัวใจ ร้อยละ๘๕ อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา  ประเทศไทยคาดว่ามีผู้ป่วยรายใหม่ในแต่ละปี ๑๕๐,๐๐๐ ราย ในปัจจุบันนี้ แม้การแพทย์จะสามารถเอาชนะโรคร้ายต่างๆมากมาย ทำให้ประชากรโลกรอดพ้นจากการเจ็บป่วยเหล่านั้นและมีอายุที่ยืนยาวขึ้น แต่จำนวนคนที่เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคอ้วน โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งเรียกรวมกันว่า เมตะบอลิกซินโดรม (Metabolic Syndrome) กลับมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ต้นเหตุของการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เป็นโรคเบาหวาน  โรคความดันโลหิตสูงในปัจจุบัน คือการเพิ่มขึ้นของจำนวนคนอ้วน เพราะอุปนิสัยการกินอยู่ที่เปลี่ยนไป มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงในการใช้ชีวิตประจำวัน กินอาหารที่มีไขมันเพิ่มขึ้น ซึ่งไขมันที่สะสมอยู่ที่พุงเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้ระดับน้ำตาลและระดับไขมันในเลือดเพิ่มสูงขึ้น

    จากผลการตรวจคัดกรองสุขภาพของ ประชาชนอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ในชุมชนเขตพื้นทีรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคียนจำนวน ๗๔๒ รายพบว่าเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ๑๖๗ ราย ร้อยละ ๒๒.๕ เสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน ๙๓ ราย ร้อยละ ๑๒.๕  เสี่ยงโรคอ้วน ๒๙๓ รายร้อยละ ๓๙.๕ และจากสถิติผู้ป่วย ส่วนใหญ่พบป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน ๑๕๙ รายควบคุมความดันโลหิตได้ดี ๖๑ ราย ร้อยละ ๓๘.๓  และโรคเบาหวานจำนวน ๘๙ ราย ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ๒๕ ราย ร้อยละ ๒๘.๑ พบว่ากลุ่มป่วยทั้งสองโรคนี้ ผลการคัดกรอง(CVD Risk) เสี่ยงปานกลาง (๑๐ ≥ ๒๐ %) จำนวน ๕๐ รายเสี่ยงสูง (๒๐ < ๓๐ %) จำนวน ๓๕ ราย เสี่ยงสูงมาก (๓๐ < ๔๐ %) จำนวน ๑๗ ราย  และเสี่ยงสูงอันตราย (≥ ๔๐ %) จำนวน ๕๑ ราย ซึ่งเป็นโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง จึงต้องทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในสังคมทั้งหมดด้วยการรณรงค์เรื่องวิถีชีวิต  ทำให้เกิดความตระหนักในอันตรายของอาหารที่ทำให้เกิดความอ้วน อันตรายของชีวิตที่กินๆนอนๆไม่ขยับเขยื้อน ไม่ออกกำลังกาย การปล่อยปละละเลยไม่ควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่จะส่งผลให้โรคแทรกซ้อนเกิดเร็วขึ้น

      ด้วยเหตุผลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคียน  จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้มีภาวะเสี่ยง ลดพุง ลดโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคียน
ต.นาปะขอ อ.บางแก้ว จ.พัทลุงปี ๒๕๖๑ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเขตพื้นที่รับผิดชอบทั้งกลุ่มป่วย และกลุ่มเสี่ยง รวมถึงประชาชนทั่วไป ให้ได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องถึงพฤติกรรมของการเกิดโรค และสามารถรับผิดชอบในการจัดการตนเองเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาแทรกซ้อนต่างๆ  ตลอดจนดำรงรักษาสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้อย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้ มีความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองเพิ่มขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงต่อโรค และเกิดความตระหนักถึงการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานสามารถลดหรือควบคุมน้ำหนักได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ
  3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ได้และไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน
  4. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับไขมันในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถควบคุมระดับไขมันในเลือดได้
  5. เพื่อให้ผู้ที่มีระดับความดันโลหิตสูงเกิน ๑๔๐/๙๐ mm/Hg สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้ตามโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 1
  2. จัดอบรมให้ความรู้ตามโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ร้อยละ ๗๐ ของจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพของตนเองสามารถเป็นแบบอย่างในการสร้างพฤติกรรมที่ถูกต้องในการดูแลตนเอง และความตระหนักถึงการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ       - ร้อยละ ๗๐ ของจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น โดยวัดจากการกำกับพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
    • ร้อยละ ๗๐ ของจำนวนผู้มีค่า BMIเกิน มีค่า BMI ลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
    • ร้อยละ ๗๐ ของจำนวนผู้มีค่าความดันโลหิตสูงหรือไขมันในเลือดสูง มีระดับความดันโลหิตหรือไขมันในเลือดลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
    • ร้อยละ ๗๐ ของจำนวนผู้มีระดับน้ำตาลในเลือดสูง มีระดับน้ำตาลในเลือดลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้ มีความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองเพิ่มขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงต่อโรค และเกิดความตระหนักถึงการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานสามารถลดหรือควบคุมน้ำหนักได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ได้และไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับไขมันในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถควบคุมระดับไขมันในเลือดได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อให้ผู้ที่มีระดับความดันโลหิตสูงเกิน ๑๔๐/๙๐ mm/Hg สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้ มีความเข้าใจ  ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองเพิ่มขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงต่อโรค  และเกิดความตระหนักถึงการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง  (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานสามารถลดหรือควบคุมน้ำหนักได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ได้และไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (4) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับไขมันในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถควบคุมระดับไขมันในเลือดได้ (5) เพื่อให้ผู้ที่มีระดับความดันโลหิตสูงเกิน ๑๔๐/๙๐ mm/Hg สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ตามโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 1 (2) จัดอบรมให้ความรู้ตามโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้มีภาวะเสี่ยง ลดพุง ลดโรค จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3332-1-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางลาวัณย์ แดงปรก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด