กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานเพื่อจัดการความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกลางใหญ่ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ปีงบประมาณ 2561

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกลางใหญ่


“ โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานเพื่อจัดการความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกลางใหญ่ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ปีงบประมาณ 2561 ”

ศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเทพพัฒนา อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์

หัวหน้าโครงการ
เทศบาลตำบลกลางใหญ่

ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานเพื่อจัดการความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกลางใหญ่ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเทพพัฒนา อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัด อุดรธานี

รหัสโครงการ 4/2561 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานเพื่อจัดการความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกลางใหญ่ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดอุดรธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเทพพัฒนา อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกลางใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานเพื่อจัดการความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกลางใหญ่ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานเพื่อจัดการความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกลางใหญ่ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเทพพัฒนา อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสโครงการ 4/2561 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กุมภาพันธ์ 2561 - 28 กุมภาพันธ์ 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 68,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกลางใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ เป็นสาเหตุสำคัญของปัญหาทางสุขภาพที่ร้ายแรง บุคลการทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยเฉพาะนักเทคนิคการแพทย์ ได้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างสำคัญ ในการรณรงค์เพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ มุ่งให้มีการลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ เนื่องจากการงดบริโภคยาสูบหรือการหยุดสูบบุหรี่ จะทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ลดลงได้อย่างมีนัยสำคัญ สุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตของผู้ที่เลิกสูบบุหรี่ได้ ของสมาชิกในครอบครัว และของผู้อื่นในสังคมดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายของครอบครัวและประเทศชาติในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วย ที่มีสาเหตุแห่งความเจ็บป่วยมาจากการบริโภคยาสูบหรือารสูบบุหรี่ องค์การอนามัยโลก(WHO) ได้ให้ความสำคัญและสนับสนุนการควบคุมการบริโภคยาสูบ หรือการเลิกสูบบุหรี่มาอย่างต่อเนื่อง โดยจัดให้มี "วัดงดสูบบุหรี่โลก" (World No Tobacco Day) ขึ้นในวันที่ 31 พฤษภาคม ของทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 เป็นต้นมา โดยในปี พ.ศ. 2559 องค์การอนามัยโลกได้ให้คำขวัญว่า "Get ready for plain packaging" หรือ "ซองบุหรี่แบบเรียบ ลดภัยเงียบ ลดโรค " โดยให้ความสำคัญต่อการปกป้องเด็กและสตรี มิให้กลายเป็นเหยี่อของอุตสาหกรรมบุหรี่ รวมทั้งปกป้องสิทธิการมีสุขภาพที่ดีของผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ แต่ได้รับผลกระทบจากการสูบบุหรี่ของบุคคลอื่น หรือที่เรียกว่าผู้สูบบุหรี่มือสอง (secondary or passive smokers) และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 เป็นต้นมา องค์การอนามัยลกได้มุ่งเน้นให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข เข้ามามีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคยาสูบ โดยสนับสนุนให้บุคลกรทางการแพทย์ และสาธารณสุขทุกสาขาอาชีพร่วมมือกันก่อตั้ง "เครือข่ายวิชาชีพสุขภาพเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่" อันประกอบไปด้วย 7 สาขาวิชาชีพ ในระยะแรก ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล สาธารณสุข เภสัชกร เทคนิคการแพทย์ กายภาพบำบัด ซึ่งต่อมาเครือข่ายฯ ได้ขยายออกไปเป็น 17 วิชาชีพ ที่เพิ่มมาอีก 17 วิชาชีพ ได้แก่ หมออนามัย จิตวิทยาคลินิก แพทย์แผนจีน แพทย์แผนไทยประยุกต์ รังสีเทคนิค เวชนิทัศน์ สัตวแพทย์ เวชศาสตร์การกีฬา และศูนย์บริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์แห่งชาติ โดยมีเป้าหมายในการร่วมมือกันรณรงค์ต่อต้านพิษภัยควันบุหรี่ จัดกิจกรรมควบคุมการบริโภคยาสูบ และรณรงค์การลด ละ เลิกการสุบบุหรี่ เพื่อให้การต่อต้านพิษภัยควันบุหรี่ มีประสิทธิภาพ ต่อเนื่อง สัมฤทธิผล และนำไปสู่เป้าหมาย "สังคมไทยปลอดบุหรี่" ได้ในที่สุด จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก พบว่า แต่ละปีมีผู้เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ประมาณ 5 ล้านคน ซึ่งเทียบเท่ากับเดือนละเกือบ 11,000 คน หรือวันละ 8 คน และในบุหรี่มีสารเคมี 4,000 กว่าชนิด เช่น formaldehyde (สารเคมีที่ใช้ดองศพ) carbon monoxide (เช่นเดียวกับควันจากท่าไอเสียเครื่องยนต์) สาร acetone (สารเคมีที่ใช้ล้างเล็บ) ซึ่งสารเหล่านี้ล้วนแต่เป็นอันตรายต่อสุขภาพทั้งต่อผู้สูบเองและผู้ที่ได้รับควันบุหรี่มือสอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากผู้ที่ได้รับควันบุหรี่เป็นเด็ก ก็จะยิ่งเป็นอันตรายมากขึ้น เนื่องจากเด็กยังมีภูมิต้านทางโรคค่อนข้างต่ำ และยังไม่สามารถป้องกันตนเองจากการได้รับควันบุหรี่จากผู้ใหญ่ได้ นอกจากนั้น งานวิจัยยังพบว่าในแต่ละปีมีคนไทยเสียชีวิต จากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ ปีละ 52,000 คน หรือชั่วโมงละ 6 คน และผู้ที่ติดบุหรี่ส่วนใหญ่ร้อยละ 90 เริ่มสูลและติดบุหรี่ ตั้งแต่ยังอยู่ในวัยรุ่น ในช่วงอายุ 11-18 ปี โดยยังสูบต่อเนื่องไปจนอยู่ในวัยเยาวชนในช่วง 19-25 ปี และผู้ใหญ่ตอนต้น ในช่วงอายุ 25-35 ปี (กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่ายและการสื่อสารสำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมควบคุมโรค 2551) เทศบาลตำบลกลางใหญ่ ได้เห็นถึงความสำคัญและปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการศึกษาดูงานเพื่อจัดการความรู้เกี่ยวกับการลด ละ เลิกบุหรี่ ขึ้น เพื่อให้ทีมหมอครอบครัว ร่วมกับผู้นำหมู่บ้าน กรรมการกองทุนฯ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ของตำบลกลางใหญ่ และมีประสบการณ์ด้านการทำงานเกี่ยวกับการลด ละ เลิกบุหรี่จากหน่วยงานภายนอก ซึ่งจะทำให้มีทัศนคติและมุมมองที่กว่างไกล สามารถนำความรู้ที่ได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์กับประชาชนตำบลกลางใหญ่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 ศึกษาแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการลด ละ เลิกบุหรี่่ และ สามารถนำมาปรับใช้ในพื้นที่ของตำบลกลางใหญ่ 2 แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการดำเนินงานเกี่ยวกับการลด ละ เลิกบุหรี่ ของหน่วยงานอื่น 3 สร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือในการดำเนินงานเกี่ยวกับการลดละลิกบุหรี่ 4 กระตุ้นในประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ให้หันมาตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์เพื่อการลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ 5 จัดตั้งชมรม "คนรักสุขภาพ ต่อต้านการสูบหรี่ "
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
  3. เพื่อเพิ่มอัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
  5. เพื่อเพิ่มกิจกรรมและนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการควบคุมยาสูบ
  6. เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานเพื่อจัดการความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกลางใหญ่ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี
  2. โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานเพื่อจัดการความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกลางใหญ่ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 2
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ผู้ศึกษาดูงานได้เรียนรู้แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการลด ละ เลิกบุหรี่ 2 ผู้ศึกษาดูงานได้แลกเปลี่ยนทรรศนะ ความคิดเห็นอันเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานเกี่ยวกับการลด ละ เลิกบุรี่ ของหน่วยงานที่ไปศึกษาดูงาน เพื่อเกิดทักษะในการนำมาพัฒนาในพื้นที่ของตนเอง 3 เกิดความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนของตำบลกลางใหญ่ ในการดำเนินงานลด ละ เลิกบุหรี่ 4 ประชาชนในตำบลกลางใหญ่ หันมาสนใจการรณรงค์ลด ละ เลิกบุหรี่มากขึ้น โดยการประชาสัมพันธ์ผ่านกิจกรรมต่างๆในชุมชน เช่น งานบุญ งานบวช งานสงกรานต์ เป็นต้น 5 เกิดชมรม " คนรักสุขภาพต่อต้านการสูบบุหรี่" ขึ้นในตำบลกลางใหญ่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานเพื่อจัดการความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกลางใหญ่ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

1 ประชุมผู้นำหมู่บ้าน กรรมการกองทุนฯ ทีมเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกลางใหญ่ ร่วมกับทีมหมอครอบครัวเพื่อหาแนวทาง 2 นำเสนอโครงการที่ได้จัดการประชุมกับคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 3 ทัศนะศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเทพพัฒนา อำเภอปะคำ จงบุรีรัมย์ 4 แลกเปลี่ยนทัศนะ ความคิดเห็นเกี่ยวกับลดละเลิกบุหรี่ 5สรุปและประเมินผลตามกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1ผู้เข้ารับฝึกอบรมได้เรียนรู้แนวทางดำเนินงานเกี่ยวกับการลดละเลิกบุรี่ 2 เกิดความร่วมมือระหว่างภา๕ีเครื่อข่ายทุกภาคส่วนของตำบลกลางใหญ่

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 ศึกษาแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการลด ละ เลิกบุหรี่่ และ สามารถนำมาปรับใช้ในพื้นที่ของตำบลกลางใหญ่ 2 แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการดำเนินงานเกี่ยวกับการลด ละ เลิกบุหรี่ ของหน่วยงานอื่น 3 สร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือในการดำเนินงานเกี่ยวกับการลดละลิกบุหรี่ 4 กระตุ้นในประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ให้หันมาตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์เพื่อการลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ 5 จัดตั้งชมรม "คนรักสุขภาพ ต่อต้านการสูบหรี่ "
ตัวชี้วัด : 1 กลุ่มวัยทำงาน 2 กลุ่มผู้สูงอายุ 3 กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 4 กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 5 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 6 กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน 7 กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
20.00

 

3 เพื่อเพิ่มอัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ
ตัวชี้วัด : อัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือนโดยไม่กลับไปสูบซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(ร้อยละ)
20.00

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)
3.00

 

5 เพื่อเพิ่มกิจกรรมและนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการควบคุมยาสูบ
ตัวชี้วัด : จำนวนกิจกรรมและนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(จำนวนกิจกรรม/นวัฒกรรม)
1.00

 

6 เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ
ตัวชี้วัด : จำนวนมาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(จำนวนมาตรการ)
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 402
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 2
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 ศึกษาแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการลด ละ เลิกบุหรี่่ และ สามารถนำมาปรับใช้ในพื้นที่ของตำบลกลางใหญ่
2 แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการดำเนินงานเกี่ยวกับการลด ละ เลิกบุหรี่ ของหน่วยงานอื่น
3 สร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือในการดำเนินงานเกี่ยวกับการลดละลิกบุหรี่
4 กระตุ้นในประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ให้หันมาตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์เพื่อการลด ละ เลิกการสูบบุหรี่
5 จัดตั้งชมรม "คนรักสุขภาพ ต่อต้านการสูบหรี่ " (2) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน (3) เพื่อเพิ่มอัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ (4) เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย (5) เพื่อเพิ่มกิจกรรมและนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการควบคุมยาสูบ (6) เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานเพื่อจัดการความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกลางใหญ่ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี (2) โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานเพื่อจัดการความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกลางใหญ่ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานเพื่อจัดการความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานลด ละ เลิกบุหรี่ ตำบลกลางใหญ่ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด อุดรธานี

รหัสโครงการ 4/2561

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เทศบาลตำบลกลางใหญ่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด