กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการอบรมแกนนำหมู่บ้านและแกนนำหญิงวัยรุ่น (15 - 19 ปี)ในด้านการวางแผนคุมกำเนิด ปี 2561 ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายวิวัฒน์ เสนาทิพย์

ชื่อโครงการ โครงการอบรมแกนนำหมู่บ้านและแกนนำหญิงวัยรุ่น (15 - 19 ปี)ในด้านการวางแผนคุมกำเนิด ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561 - L3306 - 2 - 08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2561 ถึง 19 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมแกนนำหมู่บ้านและแกนนำหญิงวัยรุ่น (15 - 19 ปี)ในด้านการวางแผนคุมกำเนิด ปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมแกนนำหมู่บ้านและแกนนำหญิงวัยรุ่น (15 - 19 ปี)ในด้านการวางแผนคุมกำเนิด ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมแกนนำหมู่บ้านและแกนนำหญิงวัยรุ่น (15 - 19 ปี)ในด้านการวางแผนคุมกำเนิด ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2561 - L3306 - 2 - 08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2561 - 19 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาด้านสุขภาพของวัยรุ่นทวีความรุนแรงมากขึ้น เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่กระทบต่อวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ พฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมของวัยรุ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเกี่ยวกับเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ เห็นได้จากผลการศึกษาวิจัย ที่พบว่าวัยรุ่นส่วนมากมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร อายุน้อยลงเรื่อย ๆ มีเพศสัมพันธ์กับเพื่อนหรือแฟนมากกว่าหญิงอาชีพพิเศษ มีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกส่วนมากไม่ได้ใช้วิธีคุมกำเนิดและวัยรุ่นมีการใช้วิธีการคุมกำเนิดกับหญิงอาชีพพิเศษมากกว่าใช้กับเพื่อนหรือคู่รัก นอกจากนี้ยังพบว่าวัยรุ่นอายุต่ำกว่า25ปี มีการทำแท้งประมาณร้อยละ 46 ของผู้ทำแท้งทั้งหมดและจากผลการสำรวจล่าสุดเกี่ยวกับทัศนคติการมีเพศสัมพันธ์และการคุมกำเนิดในวัยรุ่นหญิงและชายใน ๑๕ ประเทศทั่วโลก พบว่า กลุ่มตัวอย่างเฉลี่ยร้อยละ 31 ไม่มีการปรึกษาเรื่องการคุมกำเนิดก่อนมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกมีอัตราสูงถึงร้อยละ 41 และร้อยละ 24 มีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนโดยไม่ป้องกันและคุมกำเนิด สำหรับประเด็นเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจเรื่องการคุมกำเนิด พบว่ากลุ่มตัวอย่างยังมีความเข้าใจเรื่องการป้องกันและการคุมกำเนิดที่ไม่ถูกต้อง โดยพบว่าร้อยละ 36ใช้วิธีหลั่งข้างนอก (กองวางแผนครอบครัวและประชากร กรมอนามัย ) ในประเทศไทยได้มีการสำรวจพบว่า อายุการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ มารดาวัยรุ่นอายุต่ำกว่า 20 ปี มีร้อยละ 19.2 ของการคลอดทั้งหมด หรือประมาณ 150,000 คนต่อปี  นอกจากนี้ ยังพบว่าผู้ที่เข้ารับการรักษาภาวะแทรกซ้อนจากการทำแท้งมีอายุต่ำกว่า 20 ปีถึงร้อยละ 30 สถิติดังกล่าวนับเป็นปัญหาที่สำคัญและยังคงต้องเร่งแก้ไข โดยอาศัยความร่วมมือจากทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันครอบครัว โดยเฉพาะเพื่อนซึ่งเป็นบุคคลที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึกและการตัดสินใจของวัยรุ่นเป็นอย่างมาก จากสถานการณ์การตั้งครรภ์ไม่พร้อมและการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น สภาวิชาการคุมกำเนิดแห่งภาคพื้นเอเชียแปซิฟิกร่วมกับกรมอนามัย สถาบันอุดมศึกษาและภาคเอกชน จึงจัดงานวันคุมกำเนิดโลก ซึ่งตรงกับวันที่ ๒๖กันยายนของทุกปี เพื่อรณรงค์ให้วัยรุ่นตระหนักถึงปัญหาตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และลดการทำแท้งในวัยรุ่นซึ่งอาจสรุปสาเหตุที่ปัญหาท้องไม่พร้อมและการทำแท้งในวัยเรียนทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆมาจากการขาดความรู้ความเข้าใจ ความมั่นใจในตนเอง ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพูด จากผลการสำรวจในปี 2558  หญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด 85 ราย พบตั้งครรภ์วัยรุ่น 12 รายคิดเป็น 14.11 % ,ปีงบ 2554 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด 42 ราย พบตั้งครรภ์วัยรุ่น๖ รายคิดเป็น 1428 % และปี 2559 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด 38 ราย พบตั้งครรภ์วัยรุ่น 4 ราย คิดเป็น 24.28 % จะเห็นได้ว่าอัตราการตั้งครรภ์ในหญิงวัยรุ่นจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆทุกปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประเมินคัดกรองและให้บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน
  2. เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชน หญิงอายุ 15-19 ปีมีความรู้ความตระหนักเกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
  3. เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชน หญิงอายุ 15-19 ปี เข้าถึงและใช้บริการสุขภาพตามเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำหมู่บ้านและแกนนำหญิงวัยรุ่น มีศักยภาพในการให้ความรู้ในการคุมกำเนิด ให้คำปรึกษาเบื้องต้นแก่เพื่อนได้ 2.วัยรุ่นและเยาวชนหญิงอายุ 15-19 ปีมีความเข้าใจเรื่องเพศวิถีศึกษา และไม่ท้องก่อนวัยอันควร อีกทั้งมีการติดตามเยี่ยมบ้านเชิงรุกทุกรายจำนวนการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นและเยาวชนหญิงอายุ 15-19 ปี ลดลง 3.อัตรามารดามีบุตรอายุน้อยกว่า 20 ปี น้อยกว่า ร้อยละ 10 ( ตามตัวชี้วัดอนามัยแม่และเด็ก )

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่แกนนำหมู่บ้านและแกนนำหญิงวัยรุ่น (15-19 ปี) ในด้านการวางแผนคุมกำเนิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 60 ของวัยรุ่นและเยาวชนหญิง อายุ 15 - 19 ปี ได้รับการประเมินคัดกรองและให้บริการสุขภาพที่เป็นมิตร ร้อยละ 60 ของวัยรุ่นและเยาวชนหญิง อายุ 15 - 19 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษา ร้อยละ 48 ของวัยรุ่นและเยาวชนหญิง อายุ 15 - 19 ปี ท่ีตั้งครรภ์ และเสี่ยงต่อการต้ังครรภ์ซ้ำ

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประเมินคัดกรองและให้บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของวัยรุ่นและเยาวชน หญิงอายุ 15-19ปี ได้รับการประเมินคัดกรองและให้บริการสุขภาพที่เป็นมิตร
0.00

 

2 เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชน หญิงอายุ 15-19 ปีมีความรู้ความตระหนักเกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 60 ของวัยรุ่นและเยาวชน หญิงอายุ 15-19 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษา
0.00

 

3 เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชน หญิงอายุ 15-19 ปี เข้าถึงและใช้บริการสุขภาพตามเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 48 ของวัยรุ่นและเยาวชน หญิงอายุ15-19 ปีที่ตั้งครรภ์ และเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ซ้ำได้รับการเยี่ยมบ้านเชิงรุก วัยรุ่น วัยใส เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการตั้งครรภ์ซ้ำ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินคัดกรองและให้บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (2) เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชน หญิงอายุ 15-19 ปีมีความรู้ความตระหนักเกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ (3) เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชน หญิงอายุ 15-19 ปี เข้าถึงและใช้บริการสุขภาพตามเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมแกนนำหมู่บ้านและแกนนำหญิงวัยรุ่น (15 - 19 ปี)ในด้านการวางแผนคุมกำเนิด ปี 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561 - L3306 - 2 - 08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิวัฒน์ เสนาทิพย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด