กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการสุขภาพจิตกับสิทธิแห่งความเท่าเทียมในครอบครัว ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายฤทธิชัย พลนุ้ย

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพจิตกับสิทธิแห่งความเท่าเทียมในครอบครัว

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561 - L3306 - 2 - 11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2561 ถึง 26 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพจิตกับสิทธิแห่งความเท่าเทียมในครอบครัว จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพจิตกับสิทธิแห่งความเท่าเทียมในครอบครัว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพจิตกับสิทธิแห่งความเท่าเทียมในครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2561 - L3306 - 2 - 11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2561 - 26 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คนในสังคมทั่วไปยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนอยู่ว่าการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย ควรกระทำเฉพาะในงานสวัสดิการทางสังคมเท่านั้น และบางครั้งก็เข้าใจกันผิดๆ ว่า การจัดหาทรัพยากรและสิทธิพิเศษต่างๆ ให้กับผู้หญิงจะนำมาซึ่งความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย ในทางปฏิบัติแล้ว ความเข้าใจเช่นนี้ไม่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นได้ เพราะความไม่เสมอภาคระหว่างหญิงและชายนั้น ฝังรากลึกอยู่ในทุกมิติของความสัมพันธ์ในสังคมทุกสังคม โดยเฉพาะในครอบครัว
ถ้าจะกล่าวถึงคาว่า “ครอบครัว” คงหลีกหนีไม่พ้นที่จะกล่าวถึง “ความสัมพันธ์ระหว่างคนในครอบครัว” ไปพร้อมๆ กัน ครอบครัวจึงอาจมีทั้งสุขและทุกข์ ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของคนในครอบครัวที่มีความสมดุลหรือไม่สมดุล รวมทั้งปัจจัยภายนอก เช่น สภาพทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมืองและการปกครอง ฯลฯ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งบทบาทและความสัมพันธ์ภายในครอบครัวที่ไม่สมดุล มักเกิดจากการใช้อำนาจ การเอารัดเอาเปรียบ การ ข่มเหงรังแกระหว่างคนในครอบครัว ทั้งหญิงกับชาย และเด็กกับผู้ใหญ่ จนเป็นเหตุการณ์ที่ทำให้ปัญหาในเรื่องความเครียด สุขภาพจิตที่หวั่นวิตกอยู่ตลอดเวลาจนทำให้ถึงขั้นเข้าสู่การรักษาภาวะโรคจิตซึ่งปรากฎการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมเสริมสร้างความเสมอภาคระหว่างหญิงชายในครอบครัว เป็นกระบวนการหนึ่งที่จะทาให้ผู้เข้าอบรมเกิดความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักว่าสังคมไทยนั้นมีแบบแผนการเลี้ยงดู หล่อหลอม กล่อมเกลา หรือความคาดหวังที่กำหนดไว้ต่อหญิงและชายแตกต่างกัน ซึ่งความแตกต่างนั้นเป็นปัจจัยสำคัญปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ความสัมพันธ์ภายในครอบครัวเกิดความสมดุลหรือความไม่สมดุล อันก่อให้เกิดปัญหาสังคมในภาพกว้างตามมา เช่น ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว โรคจิตเสื่อมโรคเครียด วิตก ปัญหาการเลือกปฏิบัติและความไม่เสมอภาคทางสังคม ดังนั้น เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาที่จุดเริ่มต้น จึงควรมีการเรียนรู้ เข้าใจ และยอมรับถึงต้นตอที่แท้จริงของปัญหา เพื่อนาไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับบทบาทความสัมพันธ์ระหว่างหญิงชายในครอบครัว โดยหล่อหลอมการเรียนรู้และความเข้าใจของสมาชิกในครอบครัวให้ช่วยกันขจัดบทบาทและพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของทั้งหญิงและชาย ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ส่งเสริมความเข้าใจว่าความเสมอภาคระหว่างหญิงชายเป็นหน้าที่ของทุกคนในสังคม ซึ่งเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีร่วมกันของสมาชิกในครอบครัว ชุมชน และสังคมให้อยู่ร่วมกันอย่างสมดุล ให้เกียรติ เกื้อกูล ส่งเสริมและสนับสนุนซึ่งกันและกัน ไม่มีการเอารัดเอาเปรียบและทำร้ายกัน เพื่อประโยชน์สุขของทุกคนในสังคมนั่นเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราความรุนแรงและผู้ป่วยโรคจิตเสื่อมรายใหม่
  2. เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงการใช้อำนาจที่เหนือกว่าของคนในครอบครัว
  3. เพื่อเข้าถึงระบบการรักษาที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมละลายพฤติกรรม สร้างความคุ้ยเคย/ให้ความรู้ เสริมสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 115
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. สมาชิกในครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจถึงสิทธิบทบาทและหน้าที่ขอตนเองต่อคนในครอบครัวมากขึ้น ๒. สมาชิกในครอบครัวมีภูมิคุมกันต่อความกดดันและอารมณ์ต่อคนในครอบครัวมากขึ้น ๓. สมาชิกในครอบครัวมีความผูกพันธ์และเข้าใจลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคจิตเสื่อม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมละลายพฤติกรรม สร้างความคุ้ยเคย/ให้ความรู้ เสริมสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว

วันที่ 24 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมเชิงปฏิบัติการ มีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 100 คน  ประกอบด้วย ผู้ปกครอง จำนวน 65 คน ครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน 35 คน

 

165 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราความรุนแรงและผู้ป่วยโรคจิตเสื่อมรายใหม่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงการใช้อำนาจที่เหนือกว่าของคนในครอบครัว
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อเข้าถึงระบบการรักษาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 165
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 115
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราความรุนแรงและผู้ป่วยโรคจิตเสื่อมรายใหม่ (2) เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงการใช้อำนาจที่เหนือกว่าของคนในครอบครัว (3) เพื่อเข้าถึงระบบการรักษาที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมละลายพฤติกรรม สร้างความคุ้ยเคย/ให้ความรู้ เสริมสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพจิตกับสิทธิแห่งความเท่าเทียมในครอบครัว จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561 - L3306 - 2 - 11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายฤทธิชัย พลนุ้ย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด