กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี


“ สตรียุคใหม่ ใส่ใจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ”

ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนารีมา จูเต๊ะ

ชื่อโครงการ สตรียุคใหม่ ใส่ใจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ที่อยู่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2515-1-007 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"สตรียุคใหม่ ใส่ใจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สตรียุคใหม่ ใส่ใจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการ " สตรียุคใหม่ ใส่ใจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2515-1-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ ๒ ของโรคมะเร็งทั้งหมดของสตรีไทยรองจากมะเร็งเต้านมปัจจุบันในประเทศไทยแต่ละปีจะพบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ ๑๐,๐๐๐ ราย และเสียชีวิตจากการเป็นมะเร็งปากมดลูก ๕,๐๐๐ ราย อัตราการเสียชีวิตของสตรีไทยเพิ่มขึ้นจาก ๗ คน/วัน เป็น ๑๔ คน/วัน สถิติจากสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมาพบแพทย์ เมื่อระยะของโรคมะเร็งนั้นได้เข้าสู่ในระยะลุกลามแล้วการรักษาจึงเป็นไปได้ยากต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาที่สูงส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากไม่สามารถประกอบอาชีพได้ก่อให้เกิดปัญหาด้านสังคมและครอบครัวตามมาอย่างมากมายแต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก ร้อยละ ๓๐ – ๔๐ สามารถป้องกันได้ด้วยการลดพฤติกรรมเสี่ยงและหากได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งที่เหมาะสมจะสามารถป้องกันและได้รับการรักษาได้ทันท่วงทีและอาจลดการตรวจลงเหลือเพียงตรวจทุก ๒ – ๓ ปี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมะนังปันยัง มีหญิงวัยเจริญพันธ์ ๓๙๙ คน ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ๑๔ คน ร้อยละ ๔.๑๓ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๒๐ ถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคมะเร็งลดลง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมะนังปันยัง จึงได้จัดทำโครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมขึ้น เพื่อติดตามการตรวจสุขภาพอย่างต่อเนื่องของผู้รับบริการ โดยเน้นการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกค้นหาเซลล์มะเร็งได้ในระยะเริ่มแรกรวมถึงตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเบื้องต้น เพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคด้วยซึ่งจะเป็นแนวทางในการสกัดโรคก่อนลุกลามและสร้างเสริมสุขภาพห่างไกลโรคด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ๒. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมให้กับหญิงวัยเจริญพันธ์ ๓. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ ๒๐ ๔. เพื่อให้หญิงเจริญพันธุ์ทุกรายสามารถตรวจมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเชิงปฏิบัติการ อสม.
  2. ประชุมเชิงปฎิบัติการกลุ่มผู้หญิงวัยเจริญพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 108
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถถ่ายทอดความรู้และเชิญชวนหญิงวัยเจริญพันธ์มาตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก และโรคมะเร็งเต้านม
๒ หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม สามารถตรวจมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง ๓ หญิงวัยเจริญพันธุ์มาตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกร้อยละ ๒๐ ๔ หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการส่งตัวเข้ารับการรักษาที่ถูกต้องอย่างทันถ่วงที


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ๒. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมให้กับหญิงวัยเจริญพันธ์ ๓. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ ๒๐ ๔. เพื่อให้หญิงเจริญพันธุ์ทุกรายสามารถตรวจมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 108
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 108
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ๒. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมให้กับหญิงวัยเจริญพันธ์ ๓. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ ๒๐ ๔. เพื่อให้หญิงเจริญพันธุ์ทุกรายสามารถตรวจมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการ อสม. (2) ประชุมเชิงปฎิบัติการกลุ่มผู้หญิงวัยเจริญพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สตรียุคใหม่ ใส่ใจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2515-1-007

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนารีมา จูเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด