หนูน้อยสุขภาพดี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ หนูน้อยสุขภาพดี ”
ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายซาพี ดือราแม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ หนูน้อยสุขภาพดี
ที่อยู่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2515-1-006 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"หนูน้อยสุขภาพดี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
หนูน้อยสุขภาพดี
บทคัดย่อ
โครงการ " หนูน้อยสุขภาพดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2515-1-006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การรับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็กไทยอายุ ๐-๕ ปี ทุกคน ที่ต้องได้รับให้ครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข เนื่องจากการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนแก่เด็กนั้นเป็นพื้นฐานสำคัญในการเสริมสร้างให้เด็กมีร่างกายที่แข็งแรง ปลอดจากโรค ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาด้านความคิดและการเรียนรู้ของเด็ก ที่จะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไปในอนาคต ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดให้ครอบคลุมจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการ โดยสิ่งสำคัญคือการจัดบริการด้วยความสะดวก ปลอดภัย และต้องให้ครอบคลุมประชากรเป้าหมายในระดับสูงที่สุด เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในป้องกันการเกิดอัตราป่วย อัตราตาย และการระบาดในพื้นที่ด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
นอกจากนี้สถานการณ์ภาวะสุขภาพเด็ก 0-5 ปี ยังไม่ได้ตามเกณฑ์เป้าหมาย ภาวะโภชนาการของเด็ก มีเด็กผอม และเด็กเตี้ย จำนวนไม่น้อย ซึ่งมีสาเหตุมาจากการขาดสารอาหารเรื้อรัง การได้รับโภชนาการที่ไม่เหมาะสม และเพียงพอ บิดามารดาไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตร และด้านพัฒนาการพบว่า มีพัฒนาการค่อนข้างล่าช้า จากผลสำรวจ IQ เด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 พบว่ามี IQ เฉลี่ยแล้ว ต่ำกว่าเกณฑ์ อีกทั้งยังพบปัญหาฟันผุในเด็ก เนื่องจากมีพฤติกรรมการไม่แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากที่ไม่ถูกต้อง
จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมะนังปันยัง ในช่วงเวลาเดือนตุลาคม ๒๕๖๐-มิถุนายน ๒๕๖๑ มีผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุครบ ๑ ปี ร้อยละ๔๘.๙๘ เด็กอายุครบ ๒ ปี ร้อยละ ๓๖.๓๖ เด็กอายุครบ ๓ ปี ร้อยละ ๔๔.๑๙ และเด็กอายุครบ ๕ ปี ร้อยละ ๕๕.๕๕ ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ ๙๐.๐๐ พบว่าผู้ปกครองพาเด็กมารับบริการฉีดวัคซีนล่าช้า เสี่ยงต่อการรับวัคซีนไม่ตรงตามเกณฑ์อายุ และไม่ครบตามเกณฑ์อายุ มีเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์พัฒนาการไม่สมวัย และมีปัญหาฟันผุ จึงมีการติดตามทั้งเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอย่างต่อเนื่อง เพื่อการให้บริการมีความครอบคลุมมากที่สุดครบถ้วน ทั้งนี้ต้องมีการประชาสัมพันธ์ถึงผลกระทบ ความรุนแรงของโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โรคจากภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการล่าช้า และโรคฟันผุเพิ่มเติม และต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมะนังปันยัง จึงได้จัดโครงการหนูน้อยสุขภาพดีขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.๑ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ พัฒนาการสมวัย และได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ๑.๒ เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการสมวัยและโรคฟันผุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมเชิงปฎิบัติการอาสาสมัคร อสม.
- ประชุมเชิงปฏิบัติการกับกลุ่มผู้ปกครอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
367
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑ เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ ไม่ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน
๒ เด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการปกติ พัฒนาการสมวัย ไม่มีโรคสุขภาพช่องปาก
๓ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถถ่ายทอดความรู้และเชิญชวนให้ผู้ปกครองพาบุตรมารับบริการ
๔ ผู้ปกครองเด็ก ๐-๕ ปี มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค โภชนาการ พัฒนาการสมวัย และมีสุขภาพช่องปากที่ดี
๕ มีเด็กน้อยสุขภาพเด็กดีใน ๔ กลุ่ม คือ เด็กอายุ๑ ปี, ๒ ปี, ๓ ปี และ ๕ ปี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑.๑ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ พัฒนาการสมวัย และได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ๑.๒ เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการสมวัยและโรคฟันผุ
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
367
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
367
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.๑ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ พัฒนาการสมวัย และได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ๑.๒ เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการสมวัยและโรคฟันผุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเชิงปฎิบัติการอาสาสมัคร อสม. (2) ประชุมเชิงปฏิบัติการกับกลุ่มผู้ปกครอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
หนูน้อยสุขภาพดี จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2515-1-006
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายซาพี ดือราแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ หนูน้อยสุขภาพดี ”
ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายซาพี ดือราแม
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2515-1-006 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"หนูน้อยสุขภาพดี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
หนูน้อยสุขภาพดี
บทคัดย่อ
โครงการ " หนูน้อยสุขภาพดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2515-1-006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การรับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็กไทยอายุ ๐-๕ ปี ทุกคน ที่ต้องได้รับให้ครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข เนื่องจากการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนแก่เด็กนั้นเป็นพื้นฐานสำคัญในการเสริมสร้างให้เด็กมีร่างกายที่แข็งแรง ปลอดจากโรค ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาด้านความคิดและการเรียนรู้ของเด็ก ที่จะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไปในอนาคต ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดให้ครอบคลุมจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการ โดยสิ่งสำคัญคือการจัดบริการด้วยความสะดวก ปลอดภัย และต้องให้ครอบคลุมประชากรเป้าหมายในระดับสูงที่สุด เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในป้องกันการเกิดอัตราป่วย อัตราตาย และการระบาดในพื้นที่ด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน นอกจากนี้สถานการณ์ภาวะสุขภาพเด็ก 0-5 ปี ยังไม่ได้ตามเกณฑ์เป้าหมาย ภาวะโภชนาการของเด็ก มีเด็กผอม และเด็กเตี้ย จำนวนไม่น้อย ซึ่งมีสาเหตุมาจากการขาดสารอาหารเรื้อรัง การได้รับโภชนาการที่ไม่เหมาะสม และเพียงพอ บิดามารดาไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตร และด้านพัฒนาการพบว่า มีพัฒนาการค่อนข้างล่าช้า จากผลสำรวจ IQ เด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 พบว่ามี IQ เฉลี่ยแล้ว ต่ำกว่าเกณฑ์ อีกทั้งยังพบปัญหาฟันผุในเด็ก เนื่องจากมีพฤติกรรมการไม่แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากที่ไม่ถูกต้อง จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมะนังปันยัง ในช่วงเวลาเดือนตุลาคม ๒๕๖๐-มิถุนายน ๒๕๖๑ มีผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุครบ ๑ ปี ร้อยละ๔๘.๙๘ เด็กอายุครบ ๒ ปี ร้อยละ ๓๖.๓๖ เด็กอายุครบ ๓ ปี ร้อยละ ๔๔.๑๙ และเด็กอายุครบ ๕ ปี ร้อยละ ๕๕.๕๕ ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ ๙๐.๐๐ พบว่าผู้ปกครองพาเด็กมารับบริการฉีดวัคซีนล่าช้า เสี่ยงต่อการรับวัคซีนไม่ตรงตามเกณฑ์อายุ และไม่ครบตามเกณฑ์อายุ มีเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์พัฒนาการไม่สมวัย และมีปัญหาฟันผุ จึงมีการติดตามทั้งเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอย่างต่อเนื่อง เพื่อการให้บริการมีความครอบคลุมมากที่สุดครบถ้วน ทั้งนี้ต้องมีการประชาสัมพันธ์ถึงผลกระทบ ความรุนแรงของโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โรคจากภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการล่าช้า และโรคฟันผุเพิ่มเติม และต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมะนังปันยัง จึงได้จัดโครงการหนูน้อยสุขภาพดีขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.๑ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ พัฒนาการสมวัย และได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ๑.๒ เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการสมวัยและโรคฟันผุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมเชิงปฎิบัติการอาสาสมัคร อสม.
- ประชุมเชิงปฏิบัติการกับกลุ่มผู้ปกครอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 367 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑ เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ ไม่ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน ๒ เด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการปกติ พัฒนาการสมวัย ไม่มีโรคสุขภาพช่องปาก ๓ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถถ่ายทอดความรู้และเชิญชวนให้ผู้ปกครองพาบุตรมารับบริการ ๔ ผู้ปกครองเด็ก ๐-๕ ปี มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค โภชนาการ พัฒนาการสมวัย และมีสุขภาพช่องปากที่ดี ๕ มีเด็กน้อยสุขภาพเด็กดีใน ๔ กลุ่ม คือ เด็กอายุ๑ ปี, ๒ ปี, ๓ ปี และ ๕ ปี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑.๑ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ พัฒนาการสมวัย และได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ๑.๒ เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการสมวัยและโรคฟันผุ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 367 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 367 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.๑ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ พัฒนาการสมวัย และได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ๑.๒ เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการสมวัยและโรคฟันผุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเชิงปฎิบัติการอาสาสมัคร อสม. (2) ประชุมเชิงปฏิบัติการกับกลุ่มผู้ปกครอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
หนูน้อยสุขภาพดี จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2515-1-006
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายซาพี ดือราแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......