กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน


“ บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ปี ๒๕๖๒ ”

ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
สำนักงานเลขาฯกองทุน

ชื่อโครงการ บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ปี ๒๕๖๒

ที่อยู่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3310-4-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ปี ๒๕๖๒ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ปี ๒๕๖๒



บทคัดย่อ

กองทุนหลักประกันสุขภาพในท้องถิ่น เป็นกองทุนที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานขององค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ การป้องกันโรคและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่น
ในการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เน้นการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพให้กับประชาชนในพื้นที่ ซึ่งสามารถให้การสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมใน ๕ ลักษณะ คือ ๑. สนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข ๒. สนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น ๓. สนับสนุนศูนย์เด็กเล็กหรือศูนย์ผู้พิการ ๔. ค่าบริหารจัดการกองทุน ๕. สนับสนุนกรณีเกิดภัยพิบัติหรือโรคระบาด เพื่อให้การดำเนินงานบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน สามารถขับเคลื่อนไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ จึงจำเป็นต้องมีการประชุมเพื่อชี้แจงการดำเนินงาน ตลอดจนการติดตาม ความก้าวหน้าของการดำเนินงานของกองทุนฯ ดังนั้นคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน
จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน/พัฒนาศักยภาพกรรมการ/และพัฒนาระบบบริหารจัดการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๒

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล (4) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมกรรมการและ อนุกรรมการกองทุนฯและผู้เข้าร่วมให้ข้อมูลฯ (2) การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ/อนุกรรมการ/เจ้าหน้าที่/ผู้ที่เกี่ยวข้องเช่น ไปประชุม สัมมนา อบรม ฯ (3) จัดแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานกองทุนสุขภาพตำบล (4) จัดทำแผนสุขภาพตำบล ปี ๒๕๖๓ (5) ประชุมอนุกรรมการ LTCและคณะทำงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในท้องถิ่น เป็นกองทุนที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานขององค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ การป้องกันโรคและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่น
ในการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เน้นการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพให้กับประชาชนในพื้นที่ ซึ่งสามารถให้การสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมใน ๕ ลักษณะ คือ ๑. สนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข ๒. สนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น ๓. สนับสนุนศูนย์เด็กเล็กหรือศูนย์ผู้พิการ ๔. ค่าบริหารจัดการกองทุน ๕. สนับสนุนกรณีเกิดภัยพิบัติหรือโรคระบาด เพื่อให้การดำเนินงานบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน สามารถขับเคลื่อนไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ จึงจำเป็นต้องมีการประชุมเพื่อชี้แจงการดำเนินงาน ตลอดจนการติดตาม ความก้าวหน้าของการดำเนินงานของกองทุนฯ ดังนั้นคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน
จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน/พัฒนาศักยภาพกรรมการ/และพัฒนาระบบบริหารจัดการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๒

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
  3. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมกรรมการและ อนุกรรมการกองทุนฯและผู้เข้าร่วมให้ข้อมูลฯ
  2. การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ/อนุกรรมการ/เจ้าหน้าที่/ผู้ที่เกี่ยวข้องเช่น ไปประชุม สัมมนา อบรม ฯ
  3. จัดแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานกองทุนสุขภาพตำบล
  4. จัดทำแผนสุขภาพตำบล ปี ๒๕๖๓
  5. ประชุมอนุกรรมการ LTCและคณะทำงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 40

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล จัดประชุมอย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี 2.โครงการ/กิจกรรมด้านสุขภาพได้รับการอนุมัติจนเงินกองทุนเหลือไม่เกิน ร้อยละ 10 ของเงินทั้งหมด 3.คณะกรรมการบริหารกองทุนมีศักยภาพเกี่ยวกับการดาเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล 4.เกิดแผนสุขภาพตำบลที่มีความครอบคลุมด้านการแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน 1.คณะกรรมการและอนุกรรมการฯกองทุนสุขภาพตำบล จัดประชุมคณะกรรมการ รวมจำนวน 5 ครั้ง ประชุมอนุกรรมการ จำนวน ๑ ครั้ง ประชุมอนุ LTC จำนวน ๑ ครั้ง 2.โครงการ/กิจกรรมด้านสุขภาพได้รับการอนุมัติจากเงินกองทุนฯจำนวน ๓๘ โครงการ
    คิดเป็นร้อยละ 99.94 ของเงินทั้งหมด รายรับ/รายจ่ายปีนี้ ยอดยกมา 8,879.42 บาท รายรับ 663,570.57 บาท รายจ่าย 671,930.00 บาท คงเหลือ 519.99 บาท 3.คณะกรรมการบริหารกองทุนมีศักยภาพเกี่ยวกับการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล 4.เกิดแผนสุขภาพตำบลที่มีความครอบคลุมด้านการแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่
    ๒. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด การบรรลุตามวัตถุประสงค์ • บรรลุตามวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์โดยตรง วัตถุประสงค์ ๑.เพื่อบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เกิดประสิทธิภาพและตรงตามวัตถุประสงค์ของประกาศคณะกรรมการฯ ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล จัดประชุมอย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี 2.โครงการ/กิจกรรมด้านสุขภาพได้รับการอนุมัติจนเงินกองทุนเหลือไม่เกิน ร้อยละ 10 ของเงินทั้งหมด 3.คณะกรรมการบริหารกองทุนมีศักยภาพเกี่ยวกับการดาเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล 4.เกิดแผนสุขภาพตำบลที่มีความครอบคลุมด้านการแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ ๓. การเบิกจ่ายงบประมาณประเภทที่ ๔ เลขที่ใบเบิกเงิน ลงวันที่ จำนวนเงินเบิก จำนวนเงินคงเหลือ เลขอ้างอิง สร้างเมื่อ
    งบประมาณ 110,000.00 บาท
    3/2562 26 ก.พ. 2562 18,600.00 91,400.00 PAY0037250 26 ก.พ. 62
    39/2562 25 ก.ค. 2562 69,580.00 21,820.00 PAY0047252 25 ก.ค. 62
    38/2562 25 ก.ค. 2562 12,000.00 9,820.00 PAY0047250 25 ก.ค. 62
    40/2562 11 ก.ย. 2562 2,200.00 7,620.00 PAY0050072 11 ก.ย. 62
    41/2562 11 ก.ย. 2562 7,500.00 120.00 PAY0050074 11 ก.ย. 62
    รวม 109,880.00 บาท งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ๑๑๐,๐๐๐ บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง 109,880.00 บาท  คิดเป็นร้อยละ ๙9.๘๙ งบประมาณคงเหลือ 120.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.๑๑


    ๔.การเบิกจ่ายงบประมาณทุกประเภท กันยายน 2562 11 ก.ย. 2562 PAY0050072 50400 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนการบริหาร/พัฒนากองทุนฯ (ประเภทที่ 4) (บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ปี ๒๕๖๒) 2,200.00
    PAY0050074 50400 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนการบริหาร/พัฒนากองทุนฯ (ประเภทที่ 4) (บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ปี ๒๕๖๒) 7,500.00
    กรกฎาคม 2562 25 ก.ค. 2562 PAY0047250 50400 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนการบริหาร/พัฒนากองทุนฯ (ประเภทที่ 4) (บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ปี ๒๕๖๒) 12,000.00
    PAY0047252 50400 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนการบริหาร/พัฒนากองทุนฯ (ประเภทที่ 4) (บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ปี ๒๕๖๒) 69,580.00
    มิถุนายน 2562 27 มิ.ย. 2562 PAY0045466 50200 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น (ประเภทที่ 2)(ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬา) 20,000.00
    PAY0045467 50300 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
    (ประเภทที่ 3)(ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุและ อสม.) 13,000.00
    พฤษภาคม 2562 8 พ.ค. 2562 PAY0042071 50300 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
    (ประเภทที่ 3)(หนูน้อยฟันสวยสุขภาพดี ศพด.บ้านโคกยา) 5,800.00
    PAY0042073 50300 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
    (ประเภทที่ 3)(หนูน้อยฟันสวยสุขภาพดี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่านางพรหม 11,000
    PAY0042075 50300 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
    (ประเภทที่ 3)(ส่งเสริมสุขภาพพัฒนาEQ IQ เด็ก ๐-๕ ปี ศพด.บ้านเทพราช) 7,000
    PAY0042086 50100 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข (ประเภทที่ 1)(ห่วงใยใส่ใจพิชิตมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก20,000.
    PAY0042089 50100 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข (ประเภทที่ 1)(สุขภาพจิตดี ชีวีมีสุข) 30,000.00
    PAY0042091 50100 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข (ประเภทที่ 1)(ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเรื้อรังและประชาชนทั่วไป)15,000.00
    PAY0042094 50100 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข (ประเภทที่ 1)(วัดส่งเสริมสุขภาพ) 10,000.00
    PAY0042096 50100 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข (ประเภทที่ 1)(ลดโรคลดเสี่ยงเลี่ยงสารเคมี) 10,000.00
    PAY0042098 50100 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข (ประเภทที่ 1)(สูงวัยใส่ใจข้อเข่าเสื่อม) 20,000.00
    PAY0042105 50100 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข (ประเภทที่ 1)(ส่งเสริมป้องกันทัณตสุขภาพแลการอุดฟัน) 12,750.00
    PAY0042109 50100 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข (ประเภทที่ 1)(ใช้ยาอย่างปลอดภัย) 10,000.00


    PAY0042111 50100 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข (ประเภทที่ 1)(แช่เท้าลดอาการชาในผู้ป่วยเบหวานด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี ๒๕๖๒) 10,000.00
    PAY0042114 50100 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข (ประเภทที่ 1)(ควบคุมป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง)15,000.00 PAY0042117 50100 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข (ประเภทที่ 1)(ชุมชนบ้านโคกยา ร่วมใจ ระวังภัยโรคติดต่อ)10,000.00
    PAY0042119 50100 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข (ประเภทที่ 1)(ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน) 11,000.00
    PAY0042122 50100 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข (ประเภทที่ 1)(สตรียุคใหม่ดูแลตัวเองอย่างไรให้ห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก) 20,000.00
    PAY0042123 50100 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข (ประเภทที่ 1)(ลดโรคลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่เหมาะสม)30,000 PAY0042129 50300 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
    (ประเภทที่ 3)(ส่งเสริมสุขภาพพัฒนาEQ IQ เด็ก ๐-๕ ปี ศพด.บ้านลานช้าง)12,500.0
    15 พ.ค. 2562 PAY0042645 50200 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น (ประเภทที่ 2)(ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬา รร.บ้านควนโคกยา) 8,000.00
    PAY0042647 50200 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น (ประเภทที่ 2)(ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬา รร.บ้านลานช้างมิตรภาพ 510,000 PAY0042649 50200 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น (ประเภทที่ 2)(ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬา รร.บ้านท่านางพรหม(ธนาคารกรุงเทพ๘))8,000.00
    PAY0042650 50200 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น (ประเภทที่ 2)(ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬา รร.บ้านเทพราช) 8,000.00
    PAY0042652 50200 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น (ประเภทที่ 2)(ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬา รร.วัดหัวเขาชัยสน) 8,000.00
    PAY0042653 50200 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น (ประเภทที่ 2)(สามกลุ่มวัย ใส่ใจสุขภาพ รักษ์การออกกำลังกาย) 26,000.00
    PAY0042655 50200 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น (ประเภทที่ 2)(ส่งเสริมสุขภาพลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ม.๗) 12,500.00
    PAY0042657 50200 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น (ประเภทที่ 2)(ส่งเสริมสุขภาพลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ม.12)11,000.00
    PAY0042660 50200 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น (ประเภทที่ 2)(ส่งเสริมการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อสุขภาพลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ม.๘) 12,500.00
    PAY0042662 50200 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น (ประเภทที่ 2)(ส่งเสริมการใช้สมุนไพรลดเบาหวานความดัน และสารพิษตกค้าง ม.๑๑
    บ้านทุ่งสลำ ต.เขาชัยสน) 10,000.00
    PAY0042665 50200 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น (ประเภทที่ 2)(ส่งเสริมการใช้สมุนไพรลดเบาหวานความดัน และสารพิษตกค้าง ม.๓)10,000.00

    PAY0042667 50200 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น (ประเภทที่ 2)(ร่วมใจสามวัย ใส่ใจสุขภาพจิต ม.๑๔) 10,000.00
    มีนาคม 2562 8 มี.ค. 2562 PAY0037860 50200 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น (ประเภทที่ 2)(โครงการวัยรุ่นวัยใส ห่างไกลยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ ก่อนวัยอันควร) 15,000.00
    PAY0037864 50500 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาด/ภัยพิบัติ (ประเภทที่ 5) (โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่) 30,000.00
    23 มี.ค. 2562 RCV0008483 10201 {ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขา อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง} เงินได้จากดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร 526.44
    กุมภาพันธ์ 2562 5 ก.พ. 2562 RCV0007422 10201 {ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขา
    อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง} เงินอุดหนุนหรืองบประมาณที่ได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 200,000.00
    26 ก.พ. 2562 PAY0037250 50400 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนการบริหาร/พัฒนากองทุนฯ (ประเภทที่ 4) (บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ปี ๒๕๖๒) 18,600.00
    มกราคม 2562 4 ม.ค. 2562 PAY0035075 50300 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
    (ประเภทที่ 3)(ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยวารีบำบัดและกายอุปกรณ์) 40,000.00
    RCV0006852 10201 {ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขา
    อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง} เงินได้จากดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร 939.1
    RCV0006853 10201 {ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขา
    อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง} เงินค่าบริการสาธารณสุขที่ได้รับจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 462,105.00
    15 ม.ค. 2562 PAY0035399 50100 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข (ประเภทที่ 1)(ฟื้นฟูสุขภาพกาย ผ่อนคลายสุขภาพจิต) 50,000.00














รายงานการรับ-จ่ายและเงินคงเหลือประจำเดือนกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

ประจำปีงบประมาณ 2562 เดือนตุลาคม 2561 - กันยายน 2562

รายการ ทั้งปี (บาท) 1. ยอดยกมาจากปีที่แล้ว 8,879.42 2. รายการรับ
เงินค่าบริการสาธารณสุขที่ได้รับจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 462,105.00 เงินอุดหนุนหรืองบประมาณที่ได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 200,000.00 เงินได้จากดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร 1,465.57 เงินสมทบจากชุมชน เงินบริจาค เงินได้อื่นๆ 0.00 เงินรับคืนจากการดำเนินแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 0.00 รวมรายรับ 663,570.57 3. รายการจ่าย
ค่าใช้จ่ายสนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข (ประเภทที่ 1) 273,750.00 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น (ประเภทที่ 2) 169,000.00 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ (ประเภทที่ 3) 89,300.00 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนการบริหาร/พัฒนากองทุนฯ (ประเภทที่ 4) 109,880.00 ค่าใช้จ่ายสนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาด/ภัยพิบัติ (ประเภทที่ 5) 30,000.00 รวมรายจ่าย 671,930.00 คงเหลือยกไป 519.99

โครงการประกอบด้วย โครงการ/กิจกรรมประเภทที่ ๑ จำนวน ๑๕ โครงการ โครงการ/กิจกรรมประเภทที่ 2 จำนวน ๑4 โครงการ โครงการ/กิจกรรมประเภทที่ 3 จำนวน 7 โครงการ โครงการ/กิจกรรมประเภทที่ 4 จำนวน ๑ โครงการ โครงการ/กิจกรรมประเภทที่ 5 จำนวน ๑ โครงการ ดังต่อไปนี้ โครงการ/กิจกรรมประเภทที่ ๑ 1.สตรียุคใหม่ดูแลตัวเองอย่างไรให้ห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก 20,000.00
2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน 11,000.00
3.ควบคุมป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง 15,000.00
4.ลดโรคลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่เหมาะสม 30,000.00
5.ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเรื้อรังและประชาชนทั่วไป 15,000.00
6.ห่วงใยใส่ใจพิชิตมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก 20,000.00
7.วัดส่งเสริมสุขภาพ 10,000.00
8.ส่งเสริมป้องกันทัณตสุขภาพแลการอุดฟัน 12,750.00
9.ชุมชนบ้านโคกยา ร่วมใจ ระวังภัยโรคติดต่อ 10,000.00
10.แช่เท้าลดอาการชาในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี๒๕๖๒ 10,000.00
11.พัฒนาการเข้าถึงการฟื้นฟูสมรรถภาพ 0.00
12.สูงวัยใส่ใจข้อเข่าเสื่อม 20,000.00
13.สุขภาพจิตดี ชีวีมีสุข 30,000.00
14.ลดโรคลดเสี่ยงเลี่ยงสารเคมี 10,000.00
15.ใช้ยาอย่างปลอดภัย 10,000.00
โครงการ/กิจกรรมประเภทที่ 2 1.ส่งเสริมการใช้สมุนไพรลดเบาหวานความดัน และสารพิษตกค้าง ม.๓ 10,000.00
2.ส่งเสริมสุขภาพลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ม.12 11,000.00
3.ส่งเสริมการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อสุขภาพลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ม.๘ 12,500.00
4.ส่งเสริมสุขภาพลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ม.๗ 12,500.00
5.ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬา รร.บ้านลานช้าง มิตรภาพ ๔๕ 10,000.00
6.ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬา รร.บ้านควนโคกยา 8,000.00
7.ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬา รร.วัดหัวเขาชัยสน 8,000.00
8.ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬา รร.บ้านเทพราช 8,000.00
9.ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬา รร.บ้านท่านางพรหม(ธนาคารกรุงเทพ๘) 8,000.00
10.ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬา 20,000.00
11.ร่วมใจสามวัย ใส่ใจสุขภาพจิต ม.๑๔ 10,000.00
12.ส่งเสริมการใช้สมุนไพรลดเบาหวานความดัน และสารพิษตกค้าง ม.๑๑ บ้านทุ่งสลำ ต.เขาชัยสน 10,000.00
13.สามกลุ่มวัย ใส่ใจสุขภาพ รักษ์การออกกำลังกาย 26,000.00
14.โครงการวัยรุ่นวัยใส ห่างไกลยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ ก่อนวัยอันควร 15,000.00
โครงการ/กิจกรรมประเภทที่ 3 1.ส่งเสริมสุขภาพพัฒนาEQ IQ เด็ก ๐-๕ ปี ศพด.บ้านเทพราช 7,000.00
2.ส่งเสริมสุขภาพพัฒนาEQ IQ เด็ก ๐-๕ ปี ศพด.บ้านลานช้าง 12,500.00
3.หนูน้อยฟันสวยสุขภาพดี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่านางพรหม 11,000.00
4.หนูน้อยฟันสวยสุขภาพดี ศพด.บ้านโคกยา 5,800.00
5.ฟื้นฟูสุขภาพกาย ผ่อนคลายสุขภาพจิต 50,000.00
6.ส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยวารีบำบัดและกายอุปกรณ์ 40,000.00
7.ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุและ อสม. 13,000.00
โครงการ/กิจกรรมประเภทที่ 4 1.บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ปี ๒๕๖๒  110,000 เหลือ 120 บาท โครงการ/กิจกรรมประเภทที่ 5 1.โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ 30,000.00
รวม 672,050.00 เหลือ 120 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : - กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 % - กองทุนสุขภาพตำบลสามารถออกเงินสนับสนุนโครงการแก่ผู้รับทุน ภายใน เดือน ก.ค.61 ร้อยละ 90
10.00 10.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)
80.00 80.00

 

3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)
70.00 70.00

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ
ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 54
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 40 54

บทคัดย่อ*

กองทุนหลักประกันสุขภาพในท้องถิ่น เป็นกองทุนที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานขององค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ การป้องกันโรคและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่น
ในการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เน้นการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพให้กับประชาชนในพื้นที่ ซึ่งสามารถให้การสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมใน ๕ ลักษณะ คือ ๑. สนับสนุนหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข ๒. สนับสนุนกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น ๓. สนับสนุนศูนย์เด็กเล็กหรือศูนย์ผู้พิการ ๔. ค่าบริหารจัดการกองทุน ๕. สนับสนุนกรณีเกิดภัยพิบัติหรือโรคระบาด เพื่อให้การดำเนินงานบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน สามารถขับเคลื่อนไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ จึงจำเป็นต้องมีการประชุมเพื่อชี้แจงการดำเนินงาน ตลอดจนการติดตาม ความก้าวหน้าของการดำเนินงานของกองทุนฯ ดังนั้นคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน
จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน/พัฒนาศักยภาพกรรมการ/และพัฒนาระบบบริหารจัดการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๒

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล (4) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมกรรมการและ อนุกรรมการกองทุนฯและผู้เข้าร่วมให้ข้อมูลฯ (2) การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ/อนุกรรมการ/เจ้าหน้าที่/ผู้ที่เกี่ยวข้องเช่น ไปประชุม สัมมนา อบรม ฯ (3) จัดแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานกองทุนสุขภาพตำบล (4) จัดทำแผนสุขภาพตำบล ปี ๒๕๖๓ (5) ประชุมอนุกรรมการ LTCและคณะทำงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ปี ๒๕๖๒

รหัสโครงการ 2562-L3310-4-01 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ปี ๒๕๖๒ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3310-4-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สำนักงานเลขาฯกองทุน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด