กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควน


“ โครงการชุมชน ร่วใจ ใส่ใจความสะอาด จัดการขยะตามหลัก ๓ Rs ประจำปี ๒๕๖๑ ”

ตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางอรทัย ไตรธเนศ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชน ร่วใจ ใส่ใจความสะอาด จัดการขยะตามหลัก ๓ Rs ประจำปี ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2990-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชน ร่วใจ ใส่ใจความสะอาด จัดการขยะตามหลัก ๓ Rs ประจำปี ๒๕๖๑ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชน ร่วใจ ใส่ใจความสะอาด จัดการขยะตามหลัก ๓ Rs ประจำปี ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชน ร่วใจ ใส่ใจความสะอาด จัดการขยะตามหลัก ๓ Rs ประจำปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L2990-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาสิ่งแวดล้อม เป็นปัญหาใหญ่ที่ประชาชนประสบ เพราะสิ่งแวดล้อมถูกประชาชนทำลายไปมาก ก่อให้เกินปัญหามากมายตามมา ไม่ว่าจะเป็นภาวะโลกร้อน ปัญหาขยะล้นเมือง ปัญหาสุขภาพอนามัย ซึ่งขยะเป็นปัญหาหลักของสิ่งแวดล้อมที่ยากที่จะแก้ไข และสาเหตุหนึ่งเกิดจากประชาชนไม่รู้จักวิธีการบริหารจัดการขยะที่เกิดขึ้น ส่วนมากแล้วจะทิ้งลงข้างทางบ้างหรือทิ้งลงตามแม่น้ำลำคลอง ก่อให้เกิดสิ่งปฎิกูลมากมาย และสำหรับการทิ้งขยะลงแม่น้ำจะทะลงแม่น้ำจะทำให้เกิดการเน่าเสียได้ ส่วนหนึ่งเกิดจากสาเหตุที่คนทั่วไปไม่รู้จักการคัดแยกขยะ เมื่อมีขยะก็จะรวมกันกำจัดไปในคราวเดียวกัน องค์การบริหารส่วนตำบลควน จึงเห็นความสำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อม และต้องสร้างจิตสำนึกของการห้ามทิ้งขยะโดยปลูกฝังให้แก่เยาวชนและประชาชนโดยทั่วไป พร้อมทั้งจัดหาวิธีการดำเนินการจัดการเกี่ยวกับขยะ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและมีประโยชน์มาก พร้อมกับเสนอวิธีการคัดแยกขยะที่ถูต้อง เพื่อนำเข้าสู่ขั้นตอนการจัดการขยะที่ถูกต้อง สอดคล้องกับโครงการขยะเป็นศูนย์ของจังหวัดปัตตานีด้วย ประกอบกับอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ตามมาตรา ๖๗(๗) คุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและมาตรา ๑๖(๑๘)การกำจัดมูลฝอย สิ่งปฎิกูล และน้ำเสีย     องค์การบริหารส่วนตำบลควนร่วมกับผู้นำชุมชนคิดจะดำเนินการแก้ไขปัญหาขยะล้นชุมชนและไม่มีที่ทิ้งขยะ โดยสร้างกระบวนการเรียนรู้ในชุมชน จัดตั้งองค์กรชุมชนในการบริหารจัดการขยะโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน และก่อให้เกิดการสร้างรายได้ควบคู่กับการสร้างจิตสำนึกต่อการรักษ์บ้านเกิดของคนในชุมชน นอกจากจะเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุนชน ของตนเอง จนเกิดชุมชนต้นแบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในตำบลแล้ว ยังเป็นการลดปริมาณขยะที่นำไปกำจัดโดยการเผาและฝังกลบได้ ทำให้ช่วยลด สภาวะเรือนกระจก   องค์การบริหารส่วนตำบลควนจึงเห็นความสำคํญและได้นำเสนอโครงการโครงการชุมชน ร่วมใจใส่ใจความสะอาด จัดการขยะตามหลัก ๓Rsเป็นระบบและถูกวิธี เพื่อเป็นต้นแบบแห่งการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการมรส่วนร่วมของภาคประชาชนอย่างแท้จริง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมที่จะเกิดมากขึ้น 2.เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการแก้ปัญหาภาวะโลกร้อน 3.เพื่อส่งเสริมและสร้างจิตสำนึกในประชาชนทั่วไปรักและต้องการที่จะรักษาสิ่งแวดล้อม โดยไม่ทิ้งขยะในที่สาธารณะ 4.เพื่อเป็นการเสริมสร้างจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและสามารถนำขยะเข้ามาใช้ได้อีกในอนาคตตามหลัก ๓Rs

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 300
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.สิ่งแวดล้อมได้รับการดูแลรักษามากขึ้น 2.ประชาชนมีจิตสำนึกในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 3.ช่วยรักษาภาวะโลกร้อนได้อีกวิธีหนึ่ง 4.มีแนวทางวิธีการในการจัดการขยะที่เป็นปัญหาและรู้วิธีการคัดแยกขยะ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ชาวบ้านในพื้นที่ให้ความร่วมมือในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ทำให้ลดปริมาณแหล่งเพาะเชื้อโรคในชุมชน โดยผ่านกลุ่มแกนนำถ่ายทอดให้ความรู้แก่ชุมชน ปัจจุบันบ้างหมู่บ้านได้เกิดถนนปลอดขยะทำให้ภูมิทัศน์สะอาดตามากขึ้น

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมที่จะเกิดมากขึ้น 2.เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการแก้ปัญหาภาวะโลกร้อน 3.เพื่อส่งเสริมและสร้างจิตสำนึกในประชาชนทั่วไปรักและต้องการที่จะรักษาสิ่งแวดล้อม โดยไม่ทิ้งขยะในที่สาธารณะ 4.เพื่อเป็นการเสริมสร้างจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและสามารถนำขยะเข้ามาใช้ได้อีกในอนาคตตามหลัก ๓Rs
    ตัวชี้วัด :
    0.00 0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0 20
    กลุ่มวัยทำงาน 300 130
    กลุ่มผู้สูงอายุ 0 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมที่จะเกิดมากขึ้น 2.เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการแก้ปัญหาภาวะโลกร้อน 3.เพื่อส่งเสริมและสร้างจิตสำนึกในประชาชนทั่วไปรักและต้องการที่จะรักษาสิ่งแวดล้อม โดยไม่ทิ้งขยะในที่สาธารณะ 4.เพื่อเป็นการเสริมสร้างจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและสามารถนำขยะเข้ามาใช้ได้อีกในอนาคตตามหลัก ๓Rs

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชน ร่วใจ ใส่ใจความสะอาด จัดการขยะตามหลัก ๓ Rs ประจำปี ๒๕๖๑ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 61-L2990-2-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอรทัย ไตรธเนศ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด