กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ


“ โครงการสตรีบาเจาะร่วมใจตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง ”

ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสันต์เดะแอ

ชื่อโครงการ โครงการสตรีบาเจาะร่วมใจตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 59-L4127-1-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2559


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสตรีบาเจาะร่วมใจตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีบาเจาะร่วมใจตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสตรีบาเจาะร่วมใจตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 59-L4127-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2559 - 30 กันยายน 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการศึกษาพบว่า โรคมะเร็งเป็นปัญหาที่คุกคามสุขภาพของประชาชนทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย โดยมะเร็งเต้านม มีอุบัติการณ์ของโรคสูงอันดับ ๒ ในปี ๒๕๔๒ของสตรีไทยแม้ว่าในปัจจุบันโรคมะเร็งเต้านมยังไม่มีข้อมูลที่ยืนยันอย่างชัดเจนเกี่ยวกับสาเหตุของการเป็นโรคและไม่สามารถป้องกันได้ก็ตาม แต่สตรีสามารถดูแลและป้องกันตนเองได้ในระดับหนึ่ง ด้วยการตรวจเต้านมเป็นประจำทุกเดือนเพื่อค้นหาความผิดปกติของเต้านม เพื่อรับการดูแลรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรก วิธีการตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นวิธีที่ง่าย สะดวก ประหยัดค่าใช้จ่าย การให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดมะเร็ง สามารถลดอัตราการเกิดและตายจากโรคมะเร็งได้ จากการดำเนินงานที่ผ่านมาสตรีกลุ่มเป้าหมายยังขาดทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองและยังให้ความสำคัญในการตรวจเต้านมด้วยตนเองน้อยดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะจึงได้จัดทำโครงการเพื่อพัฒนาศักยภาพในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อจูงใจให้สตรีกลุ่มเป้าหมายตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน
  2. ๒.เพื่อให้ความรู้และสุขศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปและสตรีกลุ่มเสี่ยง
  3. ๓.เพื่อเสริมสร้างศักยภาพแกนนำสตรีในชุมชนในการป้องกันโรคมะเร็ง
  4. ๔.เพื่อลดอัตราป่วยและความรุนแรงด้วยโรคมะเร็งเต้านมในสตรี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 68
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจคัดกรองอย่างครอบคลุม ๒.สตรีกลุ่มเป้าหมายและประชาชนทั่วไปได้รับความรู้อย่างถูกต้อง ๓.แกนนำสตรีสามารถเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเรื่องที่ถูกต้องแก่คนในชุมชน ๔.ค้นหาและคัดกรองมะเร็งระยะเริ่มแรกได้ ๕.ในรายที่ผลผิดปกติ ได้รับบริการติดตามดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องทุกคน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.ผลการดำเนินงาน ด้วย รพ.สต.บาเจาะ มีความประสงค์จะจัดทำแผนงาน/โครงการ เฝ้าระวังและป้องกันมะเร็งปากมดลูก ในปีงบประมาณ 2559 โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุหลักประกันสุขภาพตำบลบาเจาะ เป็นเงิน17,730 บาท (เงินหนึ่งหมื่นเจ็ดพันเจ็ดร้อยสามสิบบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดแผนงาน/โครงการ ดังนี้ หลักการและเหตุผล โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของ ประชาชนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก  โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทย    จากข้อมูลสถิติสาธารณสุขปี พ.ศ.2546  (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2548) พบว่า  อัตราตายจากโรคมะเร็งของประชากรไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น  และโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทย  ได้แก่  มะเร็งตับ  มะเร็งปอด  มะเร็งปากมดลูก  และมะเร็งเต้านม  ตามลำดับ  สำหรับสตรีไทยโรคมะเร็งปากมดลูกมีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับหนึ่งของโรคมะเร็งทุกชนิด (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2548) นอกจากนี้ยังพบว่า  การตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูกตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอน  ที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถลดอุบัติการณ์และอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้  เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยการทำ  Pap  smear  หรือ  VIA (Visual  Inspection  of  cervix  with  Acetic  acid)ประกอบกับการดำเนินโรคเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป  และสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการรักษาตามระบบและการจี้เย็น (Cryotherapy)  ปีงบประมาณ  2553  สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  ได้เห็นความสำคัญของปัญหาจึงให้การสนับสนุนงบประมาณการดำเนินงานโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กระทรวงสาธารณสุข  โดยมอบให้สถาบันมะเร็งแห่งชาติ  กรมการแพทย์  ดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี  Pap  smear  และ  VIA  ในสตรีไทยอายุ  30-60  ปี
    โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะ มีผลงานการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปี 2558 จำนวน 1,026 ราย ได้รับการตรวจคัดกรอง 188  คน  คิดเป็นร้อยละ 18.3 ในจำนวนนี้ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรวม  ที่มีผลผิดปกติ ทุกรายได้รับการส่งต่อตามแนวทางการรักษา ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะจึงเห็นถึงปัญหาความอันตรายภัยเงียบของโรคมะเร็งปากมดลูกจึงได้ทำโครงการนี้         สรุป ผลการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปี 2559 จำนวน 1,141 ราย ร้อยละ 20% เป็นจำนวน 219 คนได้รับการตรวจคัดกรอง 68 คน  คิดเป็นร้อยละ 31.05%  ในจำนวนนี้ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่มีผลผิดปกติจำนวน 1 รายได้รับการส่งต่อให้ทางโรงพยาบาลบันนังสตา ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะจึงเห็นถึงปัญหาความอันตรายภัยเงียบของโรคมะเร็งปากมดลูกจึงได้ทำโครงการนี้ 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ บรรลุตามวัตถุประสุงค์ ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์เพราะ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม  68  คน 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ .    17,730 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง          17,730 บาท    คิดเป็นร้อยละ  100 งบประมาณเหลือส่งกองทุนฯ           0  บาท    คิดเป็นร้อยละ  100 4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน  ไม่มี  มี ปัญหา/อุปสรรค(ระบุ 1.สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปียังมีความอายในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 2.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปียังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องมะเร็งปากมดลูก แนวทางการแก้ไข(ระบุ
    ให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกแก่อสม.ในพื้นที่ให้มีความรู้ความเข้าใจและมีการฉ่ายวีดีโอเคสตัวอย่างของคน เป็นโรคมะเร็งปากมดลูกให้เห็นภาพอย่างชัดเจน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.เพื่อจูงใจให้สตรีกลุ่มเป้าหมายตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของสตรีกลุ่มเป้าหมายตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน

     

    2 ๒.เพื่อให้ความรู้และสุขศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปและสตรีกลุ่มเสี่ยง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของการได้รับความรู้และสุขศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปและสตรีกลุ่มเสี่ยง

     

    3 ๓.เพื่อเสริมสร้างศักยภาพแกนนำสตรีในชุมชนในการป้องกันโรคมะเร็ง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของการเสริมสร้างศักยภาพแกนนำสตรีในชุมชนในการป้องกันโรคมะเร็ง

     

    4 ๔.เพื่อลดอัตราป่วยและความรุนแรงด้วยโรคมะเร็งเต้านมในสตรี
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของการลดอัตราป่วยและความรุนแรงด้วยโรคมะเร็งเต้านมในสตรี

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 68
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 68
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อจูงใจให้สตรีกลุ่มเป้าหมายตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน (2) ๒.เพื่อให้ความรู้และสุขศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปและสตรีกลุ่มเสี่ยง (3) ๓.เพื่อเสริมสร้างศักยภาพแกนนำสตรีในชุมชนในการป้องกันโรคมะเร็ง (4) ๔.เพื่อลดอัตราป่วยและความรุนแรงด้วยโรคมะเร็งเต้านมในสตรี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสตรีบาเจาะร่วมใจตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 59-L4127-1-12

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสันต์เดะแอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด