กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง


“ โครงการพลัง อสม.เข็มแข็ง เชิงรุกด้วยวัคซีน ”

อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธษรณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านอุเผะ

ชื่อโครงการ โครงการพลัง อสม.เข็มแข็ง เชิงรุกด้วยวัคซีน

ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 19/61 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพลัง อสม.เข็มแข็ง เชิงรุกด้วยวัคซีน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพลัง อสม.เข็มแข็ง เชิงรุกด้วยวัคซีน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพลัง อสม.เข็มแข็ง เชิงรุกด้วยวัคซีน " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 19/61 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เป็นกลวิธีในการป้องกันควบคุมโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่มีประสิทธิภาพและคุ้มค่ามากที่สุด ประเทศไทยได้ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนางานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตั้งแต่    ปี ๒๕๒๐ เป็นต้นมา โดยผสมผสานการดำเนินงานเข้ากับงานบริการสาธารณสุขตามปกติ และพัฒนาเร่งรัด      การดำเนินงานด้วยวิธีการเพิ่มกลุ่มเป้าหมายและชนิดของวัคซีนให้มากขึ้น มีการปรับปรุงระบบการกระจายวัคซีนและบริหารจัดการแก่ผู้มารับวัคซีน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนที่มีคุณภาพดีและครอบคลุมอย่างทั่วถึง งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เป็นงานที่มีความสำคัญในการที่จะช่วยป้องกันการเกิดโรคและส่งเสริมสุขภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน ทำให้มีภูมิคุ้มกันต่อโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ช่วยลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางทรัพยากรบุคคลและภาระค่าใช้จ่ายต่างๆในการดูแลรักษาผู้ป่วย ควบคุมการกระจายของโรค โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอาจเกิดการระบาดได้ถ้าไม่สามารถให้วัคซีนได้ครอบคลุมเพียงพอ หรือให้ไม่ครบตามจำนวนครั้งที่กำหนด ภูมิคุ้มกันที่สร้างจากวัคซีนมีระดับลดลง เมื่อเวลาผ่านไปต้องได้รับการกระตุ้นซ้ำ และประสิทธิภาพของวัคซีนลดลงได้จากปัจจัยต่างๆเช่น การเก็บรักษาวัคซีนไม่ได้มาตรฐาน เทคนิคการให้บริการหรือการฉีดวัคซีนเช่นฉีดลึก หรือตื้นเกินไป เป็นต้น
    การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในปี 2559 ความครอบคลุมของการรับวัคซีนครบชุด ในเด็ก 0-5 ปีร้อยละ 80.28 ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดจังหวัดยะลา กำหนดร้อยละ 90 ปัญหาที่ผ่านมาพบว่าการบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน ไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ขาดการติดตามกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ กลุ่มเป้าหมายมีการย้ายที่อยู่อาศัย หรือไปรับบริการจากสถานบริการอื่น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นบุคคลที่อาศัยในพื้นที่ มีความใกล้ชิด และทราบข้อมูลการเข้าถึงรับบริการ รวมถึงการเคลื่อนย้ายที่อยู่อาศัยของกลุ่มเป้าหมาย อสม.จึงมีส่วนสำคัญในการกระจายความรู้ ข้อมูลข่าวสารในชุมชนได้เป็นอย่างดี มาตรการเชิงรุกที่สำคัญ คือ การให้ อสม.ค้นหากลุ่มเป้าหมาย ติดตามการรับวัคซีนตามนัด พร้อมทั้งให้ข้อมูลและคำแนะนำในการรับวัคซีนป้องกันการเกิดโรค อีกทั้งเก็บข้อมูลความครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น เพื่อช่วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขตรวจสอบความครอบคลุมวัคซีนป้องกันโรค
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ ตำบลกรงปินัง และองค์การบริหารสาวนตำบลกรงปินัง เล็งเห็นถึงความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการพลังเข้มแข็ง เชิงรุกด้วยวัคซีน ปีงบประมาณ 2561 ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้ อสม. มีการติดตามเชิงรุกอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจ เกิดความตระหนัก และกระตุ้นให้ผู้ปกครองพาเด็ก 0-5 ปี รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ทั้งนี้เพื่อสุขภาพที่ดีของเด็ก และเพื่อป้องกันหรือลดการระบาดของโรคที่สามารถป้องได้ด้วยวัคซีนให้น้อยลงจากพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองมีความเข้าใจและเกิดความตระหนักในการนำเด็กไปรับวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์
  2. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับภูมิคุ้มกันโรคครบตามแผนของกระทรวงสาธารณสุข
  3. เพื่อป้องกันและลดการระบาดของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัดซีนให้น้อยลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับเด็กที่มารับวัคซีน จำนวน 10 คน x 30 บาท x 32 วัน
  2. แผ่นผับความรู้เรื่องวัคซีน จำนวน 1,000 แผ่น x 1 บาท
  3. ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์ จำนวน 1.2 x 2.4 x 1,000 บาท x 5 ชิ้น
  4. ค่าติดตามเด็กขาดนัด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 10
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ยกเว้นวัคซีน MMR ร้อยละ 95 หรือเพิ่มขึ้นจากเป้าหมายเดิม ร้อยละ 30
  2. บิดามารดาหรือผู้ปกครองมีความเข้าใจและเกิดความตระหนักในการนำเด็กไปรับวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์
  3. สามารถป้องกันและลดการระบาดของโรคที่สามารถป้องได้ด้วยวัคซีนน้อยลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองมีความเข้าใจและเกิดความตระหนักในการนำเด็กไปรับวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : เพื่อป้องกันและลดการระบาดของโรคที่สามารถป้องได้ด้วยวัคซีนให้น้อยลง
1.00

 

2 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับภูมิคุ้มกันโรคครบตามแผนของกระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อป้องกันและลดการระบาดของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัดซีนให้น้อยลง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 10
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 10
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองมีความเข้าใจและเกิดความตระหนักในการนำเด็กไปรับวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์ (2) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับภูมิคุ้มกันโรคครบตามแผนของกระทรวงสาธารณสุข (3) เพื่อป้องกันและลดการระบาดของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัดซีนให้น้อยลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับเด็กที่มารับวัคซีน จำนวน 10  คน x 30 บาท x 32 วัน (2) แผ่นผับความรู้เรื่องวัคซีน จำนวน 1,000 แผ่น x 1 บาท (3) ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์ จำนวน 1.2 x 2.4 x 1,000 บาท x 5 ชิ้น (4) ค่าติดตามเด็กขาดนัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพลัง อสม.เข็มแข็ง เชิงรุกด้วยวัคซีน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 19/61

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธษรณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านอุเผะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด