โครงการสุ่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุกในชุมชน เทศบาลตำบลยะรัง ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสุ่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุกในชุมชน เทศบาลตำบลยะรัง ปี 2561 ”
ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางกิตติมา ยือแร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการสุ่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุกในชุมชน เทศบาลตำบลยะรัง ปี 2561
ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L8286-1-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุ่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุกในชุมชน เทศบาลตำบลยะรัง ปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุ่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุกในชุมชน เทศบาลตำบลยะรัง ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และกระตุ้นให้ไปฝากครรภ์เร็วที่สุด จำนวน 60 คน (2) 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์จำนวน 60 คน และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ 80 (3) 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด จำนวน 60 คน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมค้นหาหญิงตั้งครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ไวก่อน 12 สัปดาห์ การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะรัง ได้ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาอนามัยแม่และเด็ก เป็นลำดับต้น ๆ และได้นำแนวคิดการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่เทศบาลตำบลยะรัง มาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็ก แม้ว่าในหลายปีที่ผ่านมา ในพื้นที่เทศบาลตำบลยะรัง ไท่พบ มารดา และเด็กตายคลอด แต่ก็ยังพบว่า ยังมีมารดาที่มาฝากครรภ์ช้า คือ มารดามาฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 75.2, 85.25 ในปี 2559 และ 2560 ตามลำดับ และมาฝากครรภ์ก่อนคลอดครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละ 69.40,75.41 ในปี 2559,และปี 2560 ตามลำดับ ซึ่งการกระตุ้นให้หญิงมีครรภ์เพิ่มการฝากครรภ์ให้ครอบคลุมให้มากที่สุด เป็นการลดความเสี่ยงที่จะทำให้มารดาและทารกสูญเสียชีวิตหรืดพิการระหว่างตั้งครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอดได้การดำเนินกิจกรรมแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับวิถีชุมชนอย่างต่อเนื่องจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และกระตุ้นให้ไปฝากครรภ์เร็วที่สุด จำนวน 60 คน
- 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์จำนวน 60 คน และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ 80
- 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด จำนวน 60 คน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมค้นหาหญิงตั้งครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ไวก่อน 12 สัปดาห์ การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้และสามารถดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
2.หญิงตั้งครรภ์คลอดปลอดภัย และลูกเกิดรอด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมให้ความรู้
วันที่ 16 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ จำนวน 60 คน
อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และสมาชิกในครอบครัว เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
- การปฏิบัติขณะตั้งครรภ์
- ความรู้ด้านโภชนาการ
- การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
- การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
- ความรู้เรื่องภาวะโลหิตจางกับหญิงตั้งครรภ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด 60 คน ที่ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 100 และส่วนใหญ่จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 46.67 รองลงมา ระดับประถมศึกษา ร้อยละ 41.66
60
0
2. กิจกรรมค้นหาหญิงตั้งครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ไวก่อน 12 สัปดาห์ การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
วันที่ 15 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมค้นหาหญิงตั้งครรภ์
- เจ้าหน้าที่รพสต.และอสม. ดำเนินการออกสำรวจทุกเดือน ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ เพื่อจัดทำทะเบียน ประเมินอายุครรภ์
- จัดทำทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายเก่า เพื่อเฝ้าระวังและติดตามลูกนมแม่
กิจกรรมเยี่ยมดูแล การเฝ้าระวัง ติดตาม
- กรณีหญิงมีครรภ์ทั่วไป มีความเสี่ยงต่ำ : ติดต่อสอบถามทุกครั้งหลังไปฝากครรภ์ที่โรงพยาบาล และออกเยี่ยม 1 ครั้งก่อนไปฝากครรภ์ครั้งต่อไป
- กรณีหญิงตั้งครรภ์ ที่มีความเสี่ยงสูง : ติดต่อสอบถามทุกครั้งหลังจากฝากครรภ์ที่โรงพยาบาล และขออนุญาตประสานข้อมูลกับโรงพยาบาล สอบถามอาการ ชั่งนำ้หนัก วัดความดันโลหิต แนะนำการรับประทานอาหาร การกินยา การพักผ่อน
กรณีหญิงหลังคลอด : ออกเยี่ยมอย่างน้อย 2 ครั้ง เพื่อตรวจดูแลแผลฝีเย็บและน้ำคาวปลา ตรวจเต้านม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ในการดำเนินงาน มีการรณรงค์การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยงดังนี้ 1.กลุ่มเป้าหมายมาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และปฏิบัติตามแนวปฏิบัติการฝากครรภ์ที่เจ้าหน้าที่แนะนำได้เพิ่มขึ้น 2.กลุ่มเป้าหมายคลอดในสถานพยาบาลที่ผ่านการประเมินเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการของสปสช.ตามเป้าหมาย 3.มีฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง เพิ่มขึ้น จากการดำเนินงานพบว่า การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง จากการประเมินความพึงพอใจพบว่า ทุกคนมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และเห็นว่าโครงการควรมีการดำเนินการต่อไป
60
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ความคิดเห็นของผู้เข้ารับการอบรมต่อการบริการด้านต่าง ๆ
อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.57 โดยที่ด้านสถานที่ฝึกอบรม ระยะเวลาการฝึกอบรม การอำนวยความสะดวก และอาหาร ได้รับคะแนนเฉลี่ยสูงสุดคือ 5 รองลงมาคือ ด้านการเดินทาง ระยะเวลาเอกสาร มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.0
ความคิดเห็นด้านความพึงพอใจในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ตอบแบบสอบถามร้อยละ 96.67 มีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม ในครั้งนี้ ส่วนร้อยละ 3.33 ไม่พึงพอใจ เนื่องจากไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ตลอดกิจกรรม
ผลการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงาน การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
ในการดำเนินงาน มีการรณรงค์การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยงดังนี้
1.กลุ่มเป้าหมายมาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และปฏิบัติตามแนวปฏิบัติการฝากครรภ์ที่เจ้าหน้าที่แนะนำได้เพิ่มขึ้น
2.กลุ่มเป้าหมายคลอดในสถานพยาบาลที่ผ่านการประเมินเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการของสปสช.ตามเป้าหมาย
3.มีฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง เพิ่มขึ้น
จากการดำเนินงานพบว่า การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง จากการประเมินความพึงพอใจพบว่า ทุกคนมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และเห็นว่าโครงการควรมีการดำเนินการต่อไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และกระตุ้นให้ไปฝากครรภ์เร็วที่สุด จำนวน 60 คน
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 70
0.00
2
2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์จำนวน 60 คน และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ 80
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์
0.00
3
3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด จำนวน 60 คน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
ตัวชี้วัด : หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมหลังคลอด ร้อยละ 70
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และกระตุ้นให้ไปฝากครรภ์เร็วที่สุด จำนวน 60 คน (2) 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์จำนวน 60 คน และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ 80 (3) 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด จำนวน 60 คน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมค้นหาหญิงตั้งครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ไวก่อน 12 สัปดาห์ การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสุ่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุกในชุมชน เทศบาลตำบลยะรัง ปี 2561 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L8286-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางกิตติมา ยือแร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสุ่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุกในชุมชน เทศบาลตำบลยะรัง ปี 2561 ”
ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางกิตติมา ยือแร
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L8286-1-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุ่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุกในชุมชน เทศบาลตำบลยะรัง ปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุ่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุกในชุมชน เทศบาลตำบลยะรัง ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และกระตุ้นให้ไปฝากครรภ์เร็วที่สุด จำนวน 60 คน (2) 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์จำนวน 60 คน และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ 80 (3) 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด จำนวน 60 คน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมค้นหาหญิงตั้งครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ไวก่อน 12 สัปดาห์ การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะรัง ได้ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาอนามัยแม่และเด็ก เป็นลำดับต้น ๆ และได้นำแนวคิดการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่เทศบาลตำบลยะรัง มาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็ก แม้ว่าในหลายปีที่ผ่านมา ในพื้นที่เทศบาลตำบลยะรัง ไท่พบ มารดา และเด็กตายคลอด แต่ก็ยังพบว่า ยังมีมารดาที่มาฝากครรภ์ช้า คือ มารดามาฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 75.2, 85.25 ในปี 2559 และ 2560 ตามลำดับ และมาฝากครรภ์ก่อนคลอดครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละ 69.40,75.41 ในปี 2559,และปี 2560 ตามลำดับ ซึ่งการกระตุ้นให้หญิงมีครรภ์เพิ่มการฝากครรภ์ให้ครอบคลุมให้มากที่สุด เป็นการลดความเสี่ยงที่จะทำให้มารดาและทารกสูญเสียชีวิตหรืดพิการระหว่างตั้งครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอดได้การดำเนินกิจกรรมแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับวิถีชุมชนอย่างต่อเนื่องจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และกระตุ้นให้ไปฝากครรภ์เร็วที่สุด จำนวน 60 คน
- 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์จำนวน 60 คน และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ 80
- 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด จำนวน 60 คน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมค้นหาหญิงตั้งครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ไวก่อน 12 สัปดาห์ การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้และสามารถดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสม 2.หญิงตั้งครรภ์คลอดปลอดภัย และลูกเกิดรอด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ จำนวน 60 คน อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และสมาชิกในครอบครัว เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ - การปฏิบัติขณะตั้งครรภ์ - ความรู้ด้านโภชนาการ - การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค - การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก - ความรู้เรื่องภาวะโลหิตจางกับหญิงตั้งครรภ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด 60 คน ที่ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 100 และส่วนใหญ่จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 46.67 รองลงมา ระดับประถมศึกษา ร้อยละ 41.66
|
60 | 0 |
2. กิจกรรมค้นหาหญิงตั้งครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ไวก่อน 12 สัปดาห์ การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง |
||
วันที่ 15 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำกิจกรรมค้นหาหญิงตั้งครรภ์ - เจ้าหน้าที่รพสต.และอสม. ดำเนินการออกสำรวจทุกเดือน ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ เพื่อจัดทำทะเบียน ประเมินอายุครรภ์ - จัดทำทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายเก่า เพื่อเฝ้าระวังและติดตามลูกนมแม่ กิจกรรมเยี่ยมดูแล การเฝ้าระวัง ติดตาม - กรณีหญิงมีครรภ์ทั่วไป มีความเสี่ยงต่ำ : ติดต่อสอบถามทุกครั้งหลังไปฝากครรภ์ที่โรงพยาบาล และออกเยี่ยม 1 ครั้งก่อนไปฝากครรภ์ครั้งต่อไป - กรณีหญิงตั้งครรภ์ ที่มีความเสี่ยงสูง : ติดต่อสอบถามทุกครั้งหลังจากฝากครรภ์ที่โรงพยาบาล และขออนุญาตประสานข้อมูลกับโรงพยาบาล สอบถามอาการ ชั่งนำ้หนัก วัดความดันโลหิต แนะนำการรับประทานอาหาร การกินยา การพักผ่อน กรณีหญิงหลังคลอด : ออกเยี่ยมอย่างน้อย 2 ครั้ง เพื่อตรวจดูแลแผลฝีเย็บและน้ำคาวปลา ตรวจเต้านมผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในการดำเนินงาน มีการรณรงค์การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยงดังนี้ 1.กลุ่มเป้าหมายมาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และปฏิบัติตามแนวปฏิบัติการฝากครรภ์ที่เจ้าหน้าที่แนะนำได้เพิ่มขึ้น 2.กลุ่มเป้าหมายคลอดในสถานพยาบาลที่ผ่านการประเมินเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการของสปสช.ตามเป้าหมาย 3.มีฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง เพิ่มขึ้น จากการดำเนินงานพบว่า การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง จากการประเมินความพึงพอใจพบว่า ทุกคนมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และเห็นว่าโครงการควรมีการดำเนินการต่อไป
|
60 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ความคิดเห็นของผู้เข้ารับการอบรมต่อการบริการด้านต่าง ๆ
อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.57 โดยที่ด้านสถานที่ฝึกอบรม ระยะเวลาการฝึกอบรม การอำนวยความสะดวก และอาหาร ได้รับคะแนนเฉลี่ยสูงสุดคือ 5 รองลงมาคือ ด้านการเดินทาง ระยะเวลาเอกสาร มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.0
ความคิดเห็นด้านความพึงพอใจในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ตอบแบบสอบถามร้อยละ 96.67 มีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม ในครั้งนี้ ส่วนร้อยละ 3.33 ไม่พึงพอใจ เนื่องจากไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ตลอดกิจกรรม
ผลการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงาน การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
ในการดำเนินงาน มีการรณรงค์การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยงดังนี้
1.กลุ่มเป้าหมายมาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และปฏิบัติตามแนวปฏิบัติการฝากครรภ์ที่เจ้าหน้าที่แนะนำได้เพิ่มขึ้น
2.กลุ่มเป้าหมายคลอดในสถานพยาบาลที่ผ่านการประเมินเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการของสปสช.ตามเป้าหมาย
3.มีฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง เพิ่มขึ้น
จากการดำเนินงานพบว่า การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง จากการประเมินความพึงพอใจพบว่า ทุกคนมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และเห็นว่าโครงการควรมีการดำเนินการต่อไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และกระตุ้นให้ไปฝากครรภ์เร็วที่สุด จำนวน 60 คน ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 70 |
0.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์จำนวน 60 คน และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ 80 ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ |
0.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด จำนวน 60 คน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง ตัวชี้วัด : หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมหลังคลอด ร้อยละ 70 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และกระตุ้นให้ไปฝากครรภ์เร็วที่สุด จำนวน 60 คน (2) 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์จำนวน 60 คน และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ 80 (3) 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด จำนวน 60 คน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมค้นหาหญิงตั้งครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ไวก่อน 12 สัปดาห์ การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสุ่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุกในชุมชน เทศบาลตำบลยะรัง ปี 2561 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L8286-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางกิตติมา ยือแร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......