กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ปี 2562 ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางศรินทิพย์ มุณีสว่าง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ปี 2562

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7250-5-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7250-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 250,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันพบว่าอุบัติเหตุฉุกเฉิน สาธารณภัย และภัยพิบัติ สามารถเกิดขึ้นได้ทุกพื้นที่ของประเทศไทยรวมทั้งทุกพื้นที่ทั่วโลก อีกทั้งยังพบว่าแนวโน้มการเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ มีเพิ่มขึ้น เช่น อหิวาตกโรค ไทฟอยด์ มือเท้าปาก ซึ่งมีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายประการได้แก่ การเปลี่ยนแปลงด้วยประชากรและพฤติกรรมมนุษย์ การเดินทางเคลื่อนย้ายของประชากร การเปลี่ยนแปลงของตัวเชื้อโรค ภาวะโลกร้อนทำให้การแพร่ระบาดของโรคเป็นไปได้รวดเร็วและกว้างขวาง ซึ่งจังหวัดสงขลาก็เป็นหนึ่งในพื้นที่ประสบภัยพิบัติจากภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขและผลกระทบจากโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ จากสถานการณ์ดังกล่าวทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนภายใน ในเขตเทศบาลนครสงขลา เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับนโยบายด้านสาธารณสุขของเทศบาลนครสงขลา งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ได้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับสุขภาพของประชาชน จึงได้ดำเนินโครงการโต้ตอบภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ เพื่อการป้องกันควบคุมโรคไม่ให้เกิดการระบาดในวงกว้าง และให้ความรู้แก่ประชาชนเพื่อลดผลกระทบจากการเกิดภัยพิบัติต่าง ๆ ด้านสาธารณสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเตรียมความพร้อมและดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉิน และภัยพิบัติอย่างรวดเร็วตามความต้องการของพื้นที่
  2. 2. เพื่อลดอัตราป่วย ภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 65,000
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนในเขตเทศบาลมีความรู้เกี่ยวกับโรคและสามารถปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคและภัยทางสุขภาพได้อย่าง
        ถูกต้อง
    2. ประชาชนภายในเขตเทศบาลสามารถเตรียมตัวป้องกันภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
    3. อัตราการป่วยด้วยโรคและภัยสุขภาพ ลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    3.1 มีการประชุมเพื่อติดตามสถานการณ์แมงกะพรุนในพื้นที่ ณ สสอ.สงขลา   3.2 สำนักระบาดวิทยาให้ความรู้การเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากพิษของแมงกะพรุน แก่หน่วยกู้ชีพ
        เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร้านค้า ผู้ประกอบการบริเวณชายหาด   3.3 ขอความอนุเคราะห์กองวิชาการและแผนงานในการประชาสัมพันธ์ฝ่ายสื่อต่างๆ   3.4 ลงพื้นที่เพื่อสอบสวนโรคในผู้ที่สัมผัสพิษของแมงกะพรุน   3.5 ประสานงานกับสำนักปลัดในการประชาสัมพันธ์ฝ่ายสื่อต่างๆ เช่น ไวนิล รถประชาสัมพันธ์   3.6 คำสั่งดำเนินการจัดทำป้ายไวนิลให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันแมงกะพรุนและจัดทำธงเตือนระวัง     แมงกะพรุน โดยใช้งบประมาณจากโครงการตอบโต้ภาวะทางสุขภาพ   3.7 ประสานงานกับหน่วยกู้ชีพในการจัดเตรียมน้ำส้มสายชูเพื่อป้องกันพิษจากแมงกะพรุน   3.8 ดำเนินการจัดซื้อหน้ากาก เพื่อสนับสนุนให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงภายในเขตเทศบาล ในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก   3.9 ให้ความรู้ประชาชนภายในเขตเทศบาลนครสงขลาเกี่ยวกับการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น วิทยุชุมชน ป้ายไฟวิ่ง ให้ความรู้อาสาสมัครชุมชน ผู้ที่ดูแลผู้ป่วยติดเตียง   3.9 ติดตามเยี่ยมประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนและสนับสนุนหน้ากากให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงร่วมกับผู้บริหารเทศบาลนครสงขลา   3.10 ติดตามสถานการณ์หมอกควัน เพื่อวางแผนการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อเตรียมความพร้อมและดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉิน และภัยพิบัติอย่างรวดเร็วตามความต้องการของพื้นที่
    ตัวชี้วัด : 1. สามารถดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
    0.00

    4.1 สามารถประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันพิษของแมงกะพรุนได้อย่าง
        รวดเร็วและทันท่วงที ผ่านสื่อต่างๆ เช่น วิทยุชุมชน อสม. และป้ายไวนิลเตือนภัย   4.2 สามารถดำเนินการจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ เพื่อเตือนภัยแมงกะพรุนและความรู้เกี่ยวกับการ     ป้องกันการบาดเจ็บจากการสัมผัสพิษของแมงกะพรุนบริเวณชายหาด เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชน
        ในเขตเทศบาลและนักท่องเที่ยว   ๔.๓ ดำเนินการจัดทำธงเตือนภัยบริเวณชายหาด ทำให้ลดอัตราการป่วยและภัยจากพิษของแมงกะพรุน

    2 2. เพื่อลดอัตราป่วย ภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : 2. ลดอัตราป่วยและภาวะแทรกซ้อนจากโรคและภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ
    0.00 0.00

    ๔.4 ไม่พบรายงานผู้สัมผัสพิษจากแมงกะพรุนเพิ่ม   4.5 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากฝุ่นละอองขนาดเล็กและได้รับการสนับสนุนหน้ากากเพื่อป้องกันอันตราย   4.6 ไม่พบรายงานผู้ที่ได้รับอันตรายหรือภาวะแทรกซ้อนของภาวะหมอกควันจากโรงพยาบาลสงขลา

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65000 65000
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 65,000 65,000
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเตรียมความพร้อมและดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉิน  และภัยพิบัติอย่างรวดเร็วตามความต้องการของพื้นที่ (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วย ภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ปี 2562 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L7250-5-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางศรินทิพย์ มุณีสว่าง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด