กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พระหลวง


“ โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง "เบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเรื้อรังที่คุณสร้างขึ้นเอง" ”

ตำบลพระหลวง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

หัวหน้าโครงการ
นายสยามมนต์ ล้านมาและคณะ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง "เบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเรื้อรังที่คุณสร้างขึ้นเอง"

ที่อยู่ ตำบลพระหลวง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง "เบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเรื้อรังที่คุณสร้างขึ้นเอง" จังหวัดแพร่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพระหลวง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พระหลวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง "เบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเรื้อรังที่คุณสร้างขึ้นเอง"



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง เบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเรื้อรังที่คุณสร้างขึ้นเอง (2) 1.การตรวจคัดกรองค้นหาเบื้องต้นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชาชนอายุ35ปี ขึ้นไป ในปี 2561 (3) 2.ประเมินพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงซ้ำ (4) 4. ติดตามกลุ่มเสี่ยง โดยใช้กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการเยี่ยมบ้าน ติดตามหลังจากให้ความรู้แล้วทุกเดือนเป็นระยะเวลา 3 เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรติดตามกลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าช่วยคนไทยห่างไกลโรคมีเป้าหมายสำคัญคือการสร้างสุขภาพดีให้กับประชาชนและลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ระยะยาว โดยนำกระบวนส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคเน้นการจัดการบริการเชิงรุกให้ประชาชนมีสุขภาพดี ลดการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อโดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ที่น่าเป็นห่วงคือผู้ป่วยส่วนใหญ่เสียชีวิตจากภาวะโรคแทรกซ้อน เนื่องจากวิถีการดำรงชีวิตที่เปลี่ยนไป การมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม เช่นการบริโภคอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ ขาดการออกกำลังกาย และการใจใส่ดูแลตนเองโดยที่ประชาชนจำนวนมากไม่รู้ว่าตัวเองมีความผิดปกติหรือเป็นโรคแล้ว และไม่ได้รับการวินิจฉัยและการรักษาที่เหมาะสมจะทราบก็ต่อเมื่อเกิดผลแทรกซ้อนขึ้นแล้ว ซึ่งอาจเกิดเสียชีวิตฉับพลันหรือเกิดความพิการที่ไม่อาจแก้ไขได้ เช่น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมองตีบ และแตก โรคไตวาย และตาบอด
จากข้อมูลการตรวจคัดกรองค้นหาเบื้องต้นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชาชนอายุ35ปี ขึ้นไป ในปี 2561 พบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 257 คน จากเป้ากลุ่มเป้าหมาย 1,939 คน และกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 142 คนจากเป้ากลุ่มเป้าหมาย 1,408คน โดยปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ คือ มีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ไม่เหมาะสม มีภาวะอ้วน กรรมพันธุ์ ขาดการออกกำลังกาย เป็นต้น ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพระหลวง จึงได้จัดทำโครงการ ส่งเสริม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง“เบาหวานและความดันโลหิตสูง โรคเรื้องรังที่คุณสร้างขึ้นเอง” ขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและส่งเสริมให้กลุ่มที่มีภาวะความเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง สามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้ รวมถึงป้องกันภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมที่จะเกิดขึ้นกับตัวผู้ป่วยเอง หรือต่อสังคมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด
  2. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง เบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเรื้อรังที่คุณสร้างขึ้นเอง
  2. 1.การตรวจคัดกรองค้นหาเบื้องต้นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชาชนอายุ35ปี ขึ้นไป ในปี 2561
  3. 2.ประเมินพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงซ้ำ
  4. 4. ติดตามกลุ่มเสี่ยง โดยใช้กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการเยี่ยมบ้าน ติดตามหลังจากให้ความรู้แล้วทุกเดือนเป็นระยะเวลา 3 เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 1,939
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
    1. อัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง หรือ โรคเบาหวาน รายใหม่ลดลง
    2. กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ นำไปสู่การลดเสี่ยง เลี่ยงโรคได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การตรวจคัดกรองค้นหาเบื้องต้นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชาชนอายุ35ปี ขึ้นไป ในปี 2561

วันที่ 12 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

การตรวจคัดกรองค้นหาเบื้องต้นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชาชนอายุ35ปี ขึ้นไป ในปี 2561 พบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 257 คน จากเป้ากลุ่มเป้าหมาย 1,939 คน และกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 142 คนจากเป้ากลุ่มเป้าหมาย 1,408คน โดยปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ คือ มีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ไม่เหมาะสม มีภาวะอ้วน กรรมพันธุ์ ขาดการออกกำลังกาย ค่าวัสดุในการตรวจเลือด 21000 บาท ค่าเอกสาร3880  บาทค่าอาหารว่าง7500บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 257 คน จากเป้ากลุ่มเป้าหมาย 1,939 คนคิดเป็นร้อยละ13.25 และกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 142 คนจากเป้ากลุ่มเป้าหมาย 1,408คนคิดเป็นร้อยละ10.09 โดยปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ คือ มีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ไม่เหมาะสม มีภาวะอ้วน กรรมพันธุ์ ขาดการออกกำลังกาย

 

30 0

2. ประเมินพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงซ้ำ

วันที่ 7 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงซ้ำโดยการเจาะน้ำตาลในเลือด257คน และวัดความดันโลหิตซ้ำ142 คน และ ใช้แบบสัมภาษณ์การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพของกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข และแปลผลจำแนะความเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การเจาะน้ำตาลในเลือดในเสี่ยงเบาหวาน 257คน พบเสี่ยง 240 คนเสี่ยงปานกลาง 7 คน เสี่ยงสูง 10  คน และวัดความดันโลหิตซ้ำ142 คนพบ เสี่ยง 127 คนเสี่ยงปานกลาง 10 คน เสี่ยงสูง 3คน

 

399 0

3. ติดตามกลุ่มเสี่ยง โดยใช้กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการเยี่ยมบ้าน ติดตามหลังจากให้ความรู้แล้วทุกเดือนเป็นระยะเวลา 3 เดือน

วันที่ 14 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามกลุ่มเสี่ยง โดยใช้กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการเยี่ยมบ้าน
ครั้งที่1 20กค การเจาะน้ำตาลในเลือดในเสี่ยงเบาหวานปานกลาง 7 คน เสี่ยงสูง 10 คน และวัดความดันโลหิตซ้ำเสี่ยงปานกลาง 10 คน เสี่ยงสูง 3คน
ครั้งที่2 24สค การเจาะน้ำตาลในเลือดในเสี่ยงเบาหวาน 17 คน เสี่ยงความดันโลหิตสูง 13 คน ครั้งที่3 14 กย การเจาะน้ำตาลในเลือดในเสี่ยงเบาหวาน 17 คน เสี่ยงความดันโลหิตสูง 13 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามกลุ่มเสี่ยง โดยใช้กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการเยี่ยมบ้าน เดือนละ1 ครั้งจำนวน3 ครั้ง
ครั้งที่1 พบทั้งหมดเปลี่ยนเป็นเสี่ยงปานกลางทั้ง30คน ครั้งที่2 พบทั้งหมดเปลี่ยนเป็นเสี่ยงเบาหวานปานกลาง เป็นเสี่ยง10 คนปานกลาง7 เสี่ยงปานกลางโลหิตสูง7 คน เสี่ยง 6 คน ครั้งที่3 พบทั้งหมดเปลี่ยนเป็นเสี่ยงเบาหวาน 15 คนปกติ 2คนและ เสี่ยงปานกลางโลหิตสูง 12 คน ปกติ1คน

 

30 0

4. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง เบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเรื้อรังที่คุณสร้างขึ้นเอง

วันที่ 28 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ความรู้ 3 อ2ส  เจาะเลือดและวัดความดันโลหิตซ้ำ ค่าวิทยากร 3,000 ค่าอาหาร3,000  ค่าป้ายโครงการ 450 ค่าเอกสาร ุ600 บาทรวม7050  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยง เบาหวาน จากกลุ่มเสี่ยงปานกลางเบาหวาน10คนเสี่ยงสูง7 คน  และความดันโลหิตสูงเสี่ยงความดันโลหิตสูง เสี่ยงปานกลางและสูง13 คน.

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม นำไปสู่การลดเสี่ยง เลี่ยงโรคได้ จากการ ติดตามกลุ่มเสี่ยง 30 คนโดยใช้กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการเยี่ยมบ้าน เดือนละ1 ครั้งจำนวน 3 ครั้ง เสี่ยงเบาหวานพบทั้งหมดเปลี่ยนเป็นเสี่ยงเบาหวาน 15 คน ปกติ 2คนและ เสี่ยงปานกลางโลหิตสูง 12 คน ปกติ1คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ
30.00 40.00 35.00

 

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
60.00 65.00 64.00

จากการสำรวจของรพสต.

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1969 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 1,939
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง เบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเรื้อรังที่คุณสร้างขึ้นเอง (2) 1.การตรวจคัดกรองค้นหาเบื้องต้นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชาชนอายุ35ปี ขึ้นไป ในปี 2561 (3) 2.ประเมินพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงซ้ำ (4) 4. ติดตามกลุ่มเสี่ยง โดยใช้กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการเยี่ยมบ้าน ติดตามหลังจากให้ความรู้แล้วทุกเดือนเป็นระยะเวลา 3 เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรติดตามกลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง "เบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเรื้อรังที่คุณสร้างขึ้นเอง" จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสยามมนต์ ล้านมาและคณะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด