กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลอาหารขยะ ชุมชนปิเหล็งปลอดโรค ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอุสมาน อาแว

ชื่อโครงการ โครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลอาหารขยะ ชุมชนปิเหล็งปลอดโรค

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2480-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลอาหารขยะ ชุมชนปิเหล็งปลอดโรค จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลอาหารขยะ ชุมชนปิเหล็งปลอดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลอาหารขยะ ชุมชนปิเหล็งปลอดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2480-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

“คนไทย...” หลายคนไม่ได้กินอาหารเช้า ขณะที่บางคนอาจจะทานก็จริงแต่ไม่ได้คุณภาพ นอกจากนี้ยังมีผู้คนมากมายในสังคมกิน-ดื่มรสชาติหวาน มัน เค็มจัด แถมยังปฏิเสธรับประทานผัก ผลไม้ ละทิ้งอาหารไทยไปนิยมอาหารจากต่างชาติ โดยไม่รู้โทษที่สะสมเข้ามาในร่างกาย นำมาซึ่งความอ้วนและบ่อเกิดสารพัดโรคร้าย สิ่งเหล่านี้คือความจริงที่เกิดขึ้นในสังคมไทยช่วง 10 ปีที่ผ่านมาจนมาถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก จากสถิติพบว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการเพิ่มจำนวนเด็กอ้วนเร็วที่สุดในโลก โดยพบว่าในประเทศไทยมีเด็กอ้วน ร้อยละ 15.5 จังหวัดนราธิวาสมีเด็กอ้วน ร้อยละ 10 และเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านปิเหล็ง มีเด็กอ้วนน้ำหนักเกินเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 5 อ.สง่า ดามาพงษ์ ที่ปรึกษากรมอนามัยและอุปนายกสมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ภาคีของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้กล่าวว่า สาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาโรคอ้วนในเด็กไทย คือ พฤติกรรมบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เช่น อาหารขยะ (Junk food) และน้ำอัดลม เป็นต้น พฤติกรรมบริโภคของเด็กส่งผลถึงประสิทธิภาพในการเรียน สติปัญญา และคุณภาพพลเมืองในอนาคต ซึ่งถือเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ โดยสถานการณ์ดังกล่าว ถ้ายังปล่อยให้คนไทยอ้วนโดยไม่มีการควบคุมดูแล จะโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่อ้วนถึงร้อยละ 30 ถ้าปล่อยให้อ้วนไปเรื่อยๆ เด็กเหล่านี้จะเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่อ้วนถึงร้อยละ 80 แล้วพอผู้ใหญ่อ้วนนั้นก็จะมีโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ตามมา โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดัน หัวใจ หลอดเลือด ทำให้ประเทศสูญเสียงบประมาณ เพื่อดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเหล่านี้ เป็นการทำลายเศรษฐกิจโดยสิ้นเชิง ในการนี้ รพ.สต.บ้านปิเหล็งเห็นถึงอันตรายของอาหารขยะ และผลกระทบที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโตรงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลด ประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง
  2. ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลอาหารขยะ ชุมชนปิเหล็งปลอดโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ประชาชนในชุมชนทราบถึงอันตรายที่เกิดจากการบริโภคอาหารขยะ -ประชาชนในชุมชนชุมชนบริโภคอาหารขยะลดลง
-ประชาชนในชุมชนมีการบริโภคอาหารสุขภาพเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลอาหารขยะ ชุมชนปิเหล็งปลอดโรค

วันที่ 22 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจ้งโครงการให้ผู้เกี่ยวข้อง
  2. แต่งตั้งคณะทำงาน/กำหนดหน้าที่รับผิดชอบ
  3. ดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชน
  4. ประเมินผล/สรุป/รายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ประชาชนในชุมชนทราบถึงอันตรายที่เกิดจากการบริโภคอาหารขยะ -ประชาชนในชุมชนชุมชนบริโภคอาหารขยะลดลง
-ประชาชนในชุมชนมีการบริโภคอาหารสุขภาพเพิ่มขึ้น

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลด ประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชากร (อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง
60.00 20.00

 

2 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ
70.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลด ประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง (2) ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการรักษ์สุขภาพ  ห่างไกลอาหารขยะ  ชุมชนปิเหล็งปลอดโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลอาหารขยะ ชุมชนปิเหล็งปลอดโรค จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2480-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอุสมาน อาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด