กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการฝากเร็ว ฝากครบ เพื่อทารกสุขภาพดี ”
ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายชยธร แก้วลอย




ชื่อโครงการ โครงการฝากเร็ว ฝากครบ เพื่อทารกสุขภาพดี

ที่อยู่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2562-L5221-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 31 ตุลาคม 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝากเร็ว ฝากครบ เพื่อทารกสุขภาพดี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝากเร็ว ฝากครบ เพื่อทารกสุขภาพดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝากเร็ว ฝากครบ เพื่อทารกสุขภาพดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2562-L5221-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 31 ตุลาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงของโลกและเศรษฐกิจ ส่งผลต่อวิถีชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะประชาชนในระดับรากหญ้าชนบทได้รับความเดือดร้อนในด้านความเป็นอยู่ แต่ละครัวเรือนต้องดิ้นรนเพื่อให้ได้มาซึ่งเงินทองและความเจริญทางเทคโนโลยี ทำให้เป็นสาเหตุหนึ่งของการฝากครรภ์ล่าช้า (หลังอายุครรภ์ 12 สัปดาห์) นอกจากนี้สาเหตุของการฝากครรภ์ล่าช้า คือ วัยรุ่นที่ขาดความรู้เรื่องการคุมกำเนิด มีรักในวัยเรียน ส่งผลให้มีแม่วัยรุ่นในช่วงอายุ 13-19 ปี มากขึ้น วัยรุ่นเหล่านี้มักปกปิดการตั้งครรภ์ ทำให้เกิดปัญหาทางสังคมเพิ่มขึ้น ส่วนแม่ครรภ์หลังๆ ไม่เห็นความสำคัญของการรีบฝากครรภ์ทันทีที่รู้ว่าตั้งครรภ์ จากการขาดความรู้ ขาดความตระหนัก จากการฝากครรภ์ล่าช้าทำให้ไม่ได้รับการดูแลก่อนคลอดที่เหมาะสม ทารกในครรภ์ ไม่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ทำให้เด็กที่คลอดออกมาสุขภาพไม่สมบูรณ์ น้ำหนักน้อย พัฒนาการไม่สมวัยได้
การตั้งครรภ์ เป็นภาวะธรรมชาติที่เกิดมาพร้อมกับมนุษย์ จนเราเห็นเป็นเรื่องธรรมดา แต่ในความเป็นจริง แล้วในระหว่างการตั้งครรภ์ประมาณ 40 สัปดาห์ หรือ 9 เดือนเศษนั้น มีสิ่งที่ควรปฏิบัติและระมัดระวังหลาย อย่าง เพื่อให้ได้ผลการคลอดที่ทั้งบุตรและมารดาปลอดภัย และมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ จึงควรรีบมาฝากครรภ์ เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนทั้งหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ เพื่อมารับการแนะนำด้านโภชนาการและการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดที่ถูกต้อง เพื่อเตรียมทารกให้คลอดอย่างปลอดภัย เลี้ยงเติบโตอย่างมีพัฒนาการที่ดีมีคุณภาพ ไปขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศในอนาคต จากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอนย้อนหลัง 3 ปี พบว่า อัตราการฝากครรภ์ช้ากว่าอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ในปีงบประมาณ 2559 คิดเป็นร้อยละ 6.67 ปีงบประมาณ 2560 คิดเป็นร้อยละ 6.0 ปีงบประมาณ 2561 คิดเป็นร้อยละ 7.0 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเมื่อไม่ได้จัดทำ โครงการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบ เพื่อทารกสุขภาพดีอย่างต่อเนื่อง ทำให้อัตราการฝากครรภ์ช้าเพิ่มขึ้น จึงจัดทำโครงการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบ เพื่อทารกสุขภาพดีต่อในปีงบประมาณนี้อีกครั้ง เพื่อมุ่งส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ทุกช่วงวัย รวมถึงระยะหลังคลอดไปแล้ว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ เข้ารับบริการฝากครรภ์ทันที เมื่อทราบว่าตั้งครรภ์ โดยให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
  2. 2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มีภาวะครรภ์เสี่ยงได้รับการดูแลตามมาตรฐาน 5 ครั้งตามเกณฑ์
  3. 3 ทารกแรกคลอด มีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 70
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คาดว่าหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ ม.1 - ม.10 ตำบลท่าบอนทุกคน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ และมาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ทุกคน
  2. คาดว่าหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีภาวะสุขภาพที่ดีจนถึงคลอด
  3. คาดว่าหญิงตั้งครรภ์ที่รับการอมรมโรงเรียนพ่อแม่สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สำเร็จถึง 6 เดือน
  4. คาดว่าเด็กในชุมชนมีฟันน้ำนมผุลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ เข้ารับบริการฝากครรภ์ทันที เมื่อทราบว่าตั้งครรภ์ โดยให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : 1.1เก็บความครอบคลุมหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ทั้งหมดแล้วนำข้อมูลมาประเมินว่าหญิงตั้งครรภ์รายใหม่มารับบริการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ มากกว่าร้อยละ 70 1.2 หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครั้งแรก อายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
0.00

 

2 2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มีภาวะครรภ์เสี่ยงได้รับการดูแลตามมาตรฐาน 5 ครั้งตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : 2 หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
0.00

 

3 3 ทารกแรกคลอด มีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม
ตัวชี้วัด : 3 ทารกแรกคลอดน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 70
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ เข้ารับบริการฝากครรภ์ทันที เมื่อทราบว่าตั้งครรภ์ โดยให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ (2) 2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มีภาวะครรภ์เสี่ยงได้รับการดูแลตามมาตรฐาน 5 ครั้งตามเกณฑ์ (3) 3 ทารกแรกคลอด มีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฝากเร็ว ฝากครบ เพื่อทารกสุขภาพดี จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2562-L5221-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชยธร แก้วลอย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด