กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบองค์รวมตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ





ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบองค์รวมตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 005/2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบองค์รวมตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบองค์รวมตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบองค์รวมตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 005/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นโรคไม่ติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาทางด้านสุขภาพที่จำเป็นที่ต้องได้รับการแก้ไขเนื่องจากเป็นโรคเรื้อรังที่เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูง จากสถิติการเจ็บป่วยของตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาเต๊ะ พบว่า อัตราการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ซึ่งเป็นกลุ่มโรคเรื้อรัง มีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในปี ๒๕๕๙ มีการคัดกรองประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ร้อยละ ๙๕.๖๓ ทำให้พบกลุ่มเสี่ยงเพิ่มมากขึ้น โดยพบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๔๔.๒๖ , กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ร้อยละ ๓๘.๔๒ และเข้าสู่ระบบการวินิจฉัยโรค การรักษา การติดตามเยี่ยมบ้านจากหน่วยบริการเป็นระยะๆ โดยในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ มีอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(อัตราป่วยต่อพันประชากร) พบว่า อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ๕๐.๑๘ , อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน ๕.๐๕ , อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ๑๔.๒๕ , อัตราป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ๓.๒๔ , อัตราป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมอง ๑.๔๘ ซึ่งถ้าเป็นโรคดังกล่าวในระยะเวลานาน และไม่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ไม่มีการเฝ้าระวังและรักษาที่ดี จะทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่รุนแรง ส่งผลถึงความพิการและเสียชีวิตได้ เช่น ไตวาย ต้อกระจก แผลเรื้อรัง บางรายต้องตัดอวัยวะส่วนปลายบางส่วน ซึ่งเป็นภาระของญาติ และเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ ๖ บ้านปาเต๊ะเหนือ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ได้ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพที่มีประสิทธิภาพสำหรับผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ทั้งส่วนที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรับผิดชอบอยู่และบางรายที่ยังรับบริการในโรงพยาบาลหรือกำลังจะกลับมารับบริการใกล้บ้าน โดยการส่งเสริมให้ประชาชนจิตอาสาเข้ามามีส่วนร่วม โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและสร้างกระแสสุขภาพอย่างต่อเนื่อง จึงจัดทำโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบองค์รวมตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ขึ้น เพื่อดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและกลุ่มด้อยโอกาสอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง และส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ รวมไปถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ส่งผลต่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีและการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง
  2. เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและผู้ด้อยโอกาส แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลและเลือกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เช่น อสม. จิตอาสา ๒. กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและผู้ด้อยโอกาสมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลและเลือกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสม และสามารถควบคุมระดับสุขภาพได้ดี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและผู้ป่วยติดเตียง

    วันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลผุ้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและผู้ป่วยติดเตียง มีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 32 คน

     

    30 32

    2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพในผู้ป่วยโรคไตระดับ 2,3 ในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

    วันที่ 25 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพในผู้ป่วยโรคไตระดับ 2,3 ในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

     

    40 40

    3. กิจกรรมให้บริการดูแลและตรวจรักษาผู้ป่วย และกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและกลุ่มด้อยโอกาส

    วันที่ 15 สิงหาคม 2560 เวลา 07:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ให้บริการดูแลและตรวจรักษาผู้ป่วย และกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและกลุ่มด้อยโอกาส 

     

    100 100

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เช่น อสม. จิตอาสา
    2. กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและผู้ด้อยโอกาสมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลและเลือกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสม และสามารถควบคุมระดับสุขภาพได้ดี

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง

     

    2 เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและผู้ด้อยโอกาส แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลและเลือกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : เกิดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลและเลือกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง (2) เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและผู้ด้อยโอกาส แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลและเลือกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบองค์รวมตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 005/2560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด