กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการส่งเสริมยาเสริมธาตุเหล็ก กรดโฟลิก ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางหนูอั้น ไข่ทอง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมยาเสริมธาตุเหล็ก กรดโฟลิก

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3351-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 พฤษภาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมยาเสริมธาตุเหล็ก กรดโฟลิก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมยาเสริมธาตุเหล็ก กรดโฟลิก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมยาเสริมธาตุเหล็ก กรดโฟลิก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L3351-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 พฤษภาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,575.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กพบปัญหาอุปสรรคต่อการดูแลมารดาและทารกในหลายประเด็นเช่นการขาดสารไอโอดีนของหญิงตั้งครรภ์ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย ทารกพิการแต่กำเนิด สถานการณ์ปัญหาภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กและโฟลิกเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยที่สำคัญ ประเทศไทยจากรายงานโครงการจดทะเบียนความพิการแต่กำเนิดสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี ปี 2558 พบเด็กพิการแต่กำเนิด 4,697 ราย หรือ ร้อยละ 2.73 ต่อเด็กมีชีพ 1,000 ราย ในประชาชนไทยมีมาตรการเสริมยาธาตุเหล็กและโฟลิกเชิงป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ในประชากรกลุ่มเสี่ยง และมาตรการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่อุดมด้วยธาตุเหล็กนั้นจากการดำเนินโครงการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กที่ผ่านมา พบว่า สถานการณ์ปัญหาโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ จากการสำรวจโลหิตจางในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์พ.ศ.2559 –2560 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว พบว่า ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์มีแนวโน้มความชุกโลหิตจางสูงขึ้น พ.ศ.2559 หญิงตั้งครรภ์มีความชุกโลหิตจาง ร้อยละ 28.4 ดำเนินโครงการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาวกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโคกชะงายจึงจัดทำโครงการส่งเสริมยาเสริมธาตุเหล็ก กรดโฟลิกโดยการส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้ (โฟเลท) และธาตุเหล็ก ส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ ได้รับวิตามินธาตุเหล็กและโฟลิก สัปดาห์ละ 1ครั้ง อย่างน้อย 12 สัปดาห์ก่อนตั้งครรภ และจัดอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ๓หมู่บ้านคือ หมู่ที่ ๑,๗,๙ตำบลโคกชะงาย เพื่อสร้างค่านิยมระยะยาว รวมทั้ง ให้ความรู้คำแนะนำแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโลหิตจางการบริโภคผักผลไม้อาหารธาตุเหล็กโฟเลทสูง เพิ่มขึ้น ร้อยละ50

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการใช้ธาตุเหล็ก กรดโฟลิก ในกลุ่มหญิงวัยเริญพันธ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่ อสม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 580
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชากรกลุ่มเป้าหมายไม่มีภาววะโลหิตจาง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 8 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุม อสม เพื่อชี้แจงโครงการ 2.ดำเนินการตามกิจกรรมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านทุ่งยาว  ตำบลโคกชะงาย  อำเภอเมืองพัทลุง  จังหวัดพัทลุง  จัดทำโครงการส่งเสริมยาเสริมธาตุเหล็ก  กรดโฟลิก  เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้หญิงวัยเจริญพันธ์ในพื้นที่รับผิดชอบมีสุขภาพที่ดี  ถ้าหากมีการตั้งครรภ์ส่งผลให้เด็กที่คลอดออกมามีความฉลาดไม่มีความพิการแต่กำเนิด

 

7,575 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการใช้ธาตุเหล็ก กรดโฟลิก ในกลุ่มหญิงวัยเริญพันธ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย ใช้ยาธาตุเหล็กและกรดโฟลิค
2.00 580.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 580
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 580
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการใช้ธาตุเหล็ก กรดโฟลิก ในกลุ่มหญิงวัยเริญพันธ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ อสม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมยาเสริมธาตุเหล็ก กรดโฟลิก จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3351-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหนูอั้น ไข่ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด