กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ การดำเนินการจัดทำปิงปอง 7 สี ลดเสี่ยง ลดโรค กลุ่มประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้น ปี 2560 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
พรพิศ แซ่ตัน




ชื่อโครงการ การดำเนินการจัดทำปิงปอง 7 สี ลดเสี่ยง ลดโรค กลุ่มประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้น ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3065-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"การดำเนินการจัดทำปิงปอง 7 สี ลดเสี่ยง ลดโรค กลุ่มประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้น ปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การดำเนินการจัดทำปิงปอง 7 สี ลดเสี่ยง ลดโรค กลุ่มประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้น ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " การดำเนินการจัดทำปิงปอง 7 สี ลดเสี่ยง ลดโรค กลุ่มประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้น ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็น “ภัยเงียบ”เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือดสมอง ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก
จากรายงานผลการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 5บ้านแฉงแหวง ตำบลตุยง ปี 2559 พบว่า มีอัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ร้อยละ 3.63 สงสัยเป็นโรคเบาหวานร้อยละ 4.54 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ร้อยละ 15.45 สงสัยเป็นโรคเบาหวาน ร้อยละ9.09 ซึ่งมีแนวโน้มที่มากขึ้น จึงจำเป็นต้องคัดกรองในกลุ่มเป้าหมายอายุ 15 ปีขึ้นไปเพื่อนำผลการคัดกรองนั้นไปดำเนินการให้บริการลดเสี่ยงตามความเหมาะสมในกลุ่มต่างๆ โดยใช้ปิงปอง 7 สี เป็นตัวกระตุ้นให้คนชุมชนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันภายในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและภาวะอ้วนลงพุง ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบ
  2. 2. เพื่อให้ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ได้มีความรู้โดยให้มีบทบาทในการจัดการสุขภาพหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน
  3. 3. เพื่อให้เกิดการพัฒนาการดำเนินงานปิงปอง 7 สี ในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป
  4. 4. เพื่อให้ผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาตามแนวทางที่กำหนด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ภาคีเครือข่ายมีบทบาทในการดำเนินงานป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
    2. ประชาชนมีความตระหนัก และใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน สามารถจัดการสุขภาพตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้อย่างเหมาะสม
    3. เกิดการพัฒนาการดำเนินงานปิงปอง 7 สี ลดเสี่ยง ลดโรค ในประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ผลการดำเนินงาน 1.1 มีการจัดทำเวทีประชาคมเพื่อการต่อยอดการพัฒนาการดำเนินงาน ปิงปอง 7 สี ในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้น ไป ในวันที่ 2 ธันวาคม 2559 ตามเอกสารที่แนบมา 1.2 มีการคัดกรองประเมินภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพ และได้แจ้งผลการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงให้กับ กลุ่มเป้าหมาย  พร้อมแนะนำ ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ ตามแผนการดำเนินงานตั้งแต่ ตุลาคม 2559 – กันยายน 2560
      1.3 มีการจัดอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพเพื่อให้ห่างไกลจากโรคเรื้อรัง ในวันที่ 16 - 17 มิถุนายน
      2560 ตามรายชื่อเอกสารที่แนบมา
      สรุปผลการดำเนินงาน ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป มีทั้งหมด 110 คน คิดเป็น 34.95 % โดยในจำนวนนี้ที่ได้รับการคัดกรอง HT ,DM ทั้งหมด 110 คน คิดเป็น 95.45 % โดยจากการคัดกรอง HT,DM พบว่า ผลการคัดกรองเบาหวาน 1 กลุ่มปกติจำนวน 90 คน ร้อยละ 81.81 % 2 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 7 คน ร้อยละ  6.36 % 3 กลุ่มสงสัยเป็นโรค  5 คน ร้อยละ 4.54 % 4 กลุ่มป่วยเบาหวาน  6 คน ร้อยละ 3.63 มีภาวะแทรกซ้อน 5 กลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 4 คน ร้อยละ 3.63 ผลการคัดกรองความดันโลหิตสูง 1 กลุ่มปกติ 8 คน  ร้อยละ 7.27 2 กลุ่มเสี่ยงแฝง ( ความดันโลหิตมากกว่า 120/80 - 139/89)  ร้อยละ 21.81 3 กลุ่มเสี่ยงสูง ( ความดันโลหิตมากกว่า 140/90 -179/109)  ร้อยละ  45.45 4 สงสัยเป็นโรค ( ความดันโลหิตมากกว่า 180/110 ขึ้นไป )  ร้อยละ 9.09 5 กลุ่มป่วย  17 คน ร้อยละ 15.45  มีภาวะแทรกซ้อน 6 กลุ่มเสี่ยง HT,DM  1 คน  ร้อยละ 0.09
      ผลงานดำเนินงานหลังการใช้กระบวนจราจร 7 สีมาช่วยในการเฝ้าระวังและดูแลกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย  ดังนี้ ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน  81 คน  จากจำนวน 110 คน ( 19 คน เนื่องจากไปทำงานนอกพื้นที่กลับมาบ้านไม่แน่นอนจึงไม่ได้เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยน) เริ่มดำเนินการ  กันยายน 2558 กลุ่มป่วยเข้าร่วมโครงการ จำนวน 23 คน -  กลุ่มป่วยความดันโลหิตสูง  13 คน  ปรับเปลี่ยน ได้  9 คนเป็น 69.23 %


    -  กลุ่มป่วยเป็นทั้งเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 4 คนสามารถปรับเปลี่ยน 2 คนคิดเป็น 50 % - กลุ่มเบาหวานจำนวน 6 คนปรับเปลี่ยนได้ 3 คนคิดเป็น 50 % กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มปรับเปลี่ยนเข้าร่วมปรับเปลี่ยนจำนวน 58 คน - กลุ่มปกติ  37 คนดูแลตนเองได้ดี - กลุ่มเสี่ยงความดัน  14 คน ปรับเปลี่ยนได้  10 คน คิดเป็น 71.4 % - กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน  7 คน ปรับเปลี่ยนได้  2 คนคิดเป็น 28.57 %
    การดำเนินงานที่ผ่านมา 1. มีการนำคณะกรรมการหมู่บ้านอสม.เยี่ยมศึกษาดูงานในพื้นที่อำเภอกงหรา จ.พัทลุง 2. ได้รับการตรวจเยี่ยมชมพื้นที่โดยนพ.วราวุธ  สุรพฤษก์ 3. ร่วมต้อนรับการเยี่ยมชมศึกษาดูงานจากชาวบ้านและคณะทำงานงานตำบลกะมิยอ อ.เมืองปัตตานี 4. มีการสาธิตอาหารและประกวดน้ำบูดูเพื่อสุขภาพ 5. เกิดข้อตกลงเป็นนโยบายสาธารณะทุกวันศุกร์ งดหวาน มัน เค็ม งดบุหรี่ เน้นทานผัก เติมความสุข 6. กิจกรรมชมรมออกกำลังกายในตอนเช้าทุกวัน 7. มอบรางวัลเสริมกำลังใจแก่ผู้ที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยค่าความดันโลหิตและเบาหวานลดลง 8. ในปี 59 ที่ผ่านมาหลังดำเนินการไม่มีผู้ป่วยรายใหม่เบาหวานและความดันโลหิตสูงในรายที่ขาดการรักษาสามารถติดตามและเข้ารับยาอย่างต่อเนื่อง 9. ในปี 2560 สามารถขยายพื้นทีเครือข่ายการดำเนินการปรับเปลี่ยนไปในพื้นที่หมู่ที่ 3 โดยอสม.หมู่ที่5 และเครือข่ายในพื้นที่ร่วมเป็นพี่เลี้ยงเสนอแนวทางการดำเนินงาน 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ /• บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์  เพราะ ............................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...ทั้งหมด.........110............................................... คน 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ................20,000.................. บาท 3.1 จัดทำเวทีประชาคมหมู่บ้าน       - ค่าอาหารกลางวัน 50 คน x 40 บาท x 1 มื้อx1วัน    เป็นเงิน 2,000  บาท       - ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม 50 คน x 25 บาท x 2 มื้อ x 1วัน เป็นเงิน 2,500  บาท 3.2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพเพื่อให้ห่างไกลจากโรคเรื้อรัง       - ค่าอาหารกลางวัน 60 คน x 40 บาท x 1 มื้อx2วัน    เป็นเงิน 4,800  บาท       - ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม 60 คน x 25 บาท x 2 มื้อ x 2 วัน  เป็นเงิน 6,000  บาท       - ค่าไวนิล เป็นเงิน    700  บาท       - ค่าวัสดุ อุปกรณ์ เป็นเงิน 4,000  บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง .................20,000................. บาท  คิดเป็นร้อยละ ......100............... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .....................-........................... บาท  คิดเป็นร้อยละ ........-...................





    1. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน • ไม่มี         /• มี ปัญหา/อุปสรรค
      • อสม.ขาดทักษะ ประสบการณ์ในการดำเนินงานประชาคมในพื้นที่
        แนวทางการแก้ไข
      • หน่วยงานราชการในพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลหนองจิก องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง หรือคณะกรรมการกองทุนฯ ตำบลตุยงเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน

    - การดำเนินงานต้องมีการประสานงานกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น หน่วยงานราชการในพื้นที่

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและภาวะอ้วนลงพุง ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบ
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 80
    0.00

     

    2 2. เพื่อให้ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ได้มีความรู้โดยให้มีบทบาทในการจัดการสุขภาพหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน
    ตัวชี้วัด : 2. ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้การดูแลสุขภาพ ร้อยละ 80

     

    3 3. เพื่อให้เกิดการพัฒนาการดำเนินงานปิงปอง 7 สี ในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. เพื่อให้ผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาตามแนวทางที่กำหนด
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและภาวะอ้วนลงพุง ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบ (2) 2. เพื่อให้ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ได้มีความรู้โดยให้มีบทบาทในการจัดการสุขภาพหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน (3) 3. เพื่อให้เกิดการพัฒนาการดำเนินงานปิงปอง 7 สี ในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป  (4) 4. เพื่อให้ผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาตามแนวทางที่กำหนด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    การดำเนินการจัดทำปิงปอง 7 สี ลดเสี่ยง ลดโรค กลุ่มประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้น ปี 2560 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L3065-2-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( พรพิศ แซ่ตัน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด