โครงการคลินิกลดพุง (DPAC)
ชื่อโครงการ | โครงการคลินิกลดพุง (DPAC) |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | รพ.สต.บ้านนาโหนด ต.นาโหนด อ.เมืองพัทลุงจ.พัทลุง |
วันที่อนุมัติ | 12 มีนาคม 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 5,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายสุพิธพงษ์ ศุภเศรษฐ์ศิริ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนในประชาชน | 2.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาโหนด การคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานในประชากร 15 ขึ้นในปี 2559-2561กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 23.60, 33.76 และ 25.30 และกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ร้อยละ 13.46, 16.41 และ 15.01 ตามลำดับและค่าดัชนีมวลกายเกิน ร้อยละ 41.74,64.74 และ 57.46 ตามลำดับ จึงจำเป็นต้องดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนมีการออกกำลังการอย่างสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ 3 - 5 วัน วันละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สด อย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไปหรือผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่น ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ ร้อยละ 20-30 และโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและหลอดเลือดได้อย่างมาก
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.ให้ประชาชนมีน้ำหนัก และรอบเอว อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ผู้หญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร และผู้ชายไม่เกิน 90 เซนติเมตร ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีน้ำหนักและรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 80 |
2.00 | 80.00 |
2 | เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง ลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มคุณภาพชีวิต อัตราการเกิดโรคเรื้อรัง ลดลงร้อยละ 5 |
2.00 | 80.00 |
3 | เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีรอบเอวตามเกณฑ์ เป็นต้นแบบในการขยายผลสู่เครือข่ายในชุมชน ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีรอบเอวตามเกณฑ์ เป็นต้นแบบในการขยายผลสู่เครือข่ายในชุมชนได้ร้อยละ 50 |
2.00 | 80.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
29 เม.ย. 62 | จัดกิจกรรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ลดภาวะอ้วนลงพุงให้แก่ประชาชนทั่วไป | 0 | 5,500.00 | - | ||
รวม | 0 | 5,500.00 | 0 | 0.00 |
- กลุ่มเป้าหมายมีรอบเอว และค่าดัชนีมวลกาย ไม่เกินเกณฑ์ ร้อยละ 80
- ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพดี และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคด้วยหลัก 3 อ. 2ส. โดยเลือกการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และปรับอารมณ์ให้แจ่มใสไม่เครียด ส่งผลลดการเจ็บป่วยจากโรคร้ายแรงอีกมากมายที่ตามมาจากภาวะอ้วนลงพุง
- ประชาชนหันมาใส่ใจสุขภาพตนเองมากขึ้นเกิดบุคคลต้นแบบลดพุงไร้โรค ขยายผลสู่เครือข่ายในชุมชน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ต.ค. 2561 00:00 น.