กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการป้องกันปัญหาการแพร่ระบาดของโรคหัดในเขตเทศบาลนครยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางทรงศรี มะโรหบุตร พยาบาลวิชาชีพปฎิบัติการ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันปัญหาการแพร่ระบาดของโรคหัดในเขตเทศบาลนครยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L7452-5-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 ตุลาคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันปัญหาการแพร่ระบาดของโรคหัดในเขตเทศบาลนครยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันปัญหาการแพร่ระบาดของโรคหัดในเขตเทศบาลนครยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันปัญหาการแพร่ระบาดของโรคหัดในเขตเทศบาลนครยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L7452-5-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 ตุลาคม 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ดร.นายแพทย์สุวิช ธรรมเปาโล ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา เปิดเผยว่า สถานการณ์โรคหัดในจังหวัดยะลายังมีการเกิดโรคอย่างต่อเนื่อง และมีการระบาดในพื้นที่ที่มีความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ จากรายงานสถานการณ์โรคหัดจังหวัดยะลา 282 รายเสียชีวิต 5 ราย และไม่มีรายงานผู้เสียชีวิตในจังหวัดอื่นๆ
สาเหตุเกิดจากการไม่ได้รับวัคซีนและได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ เนื่องจากประชาชนมีความเข้าใจผิดคิดว่าวัคซีนผลิตมาจากส่วนประกอบของหมู จึงปฏิเสธการรับวัคซีน อีกทั้งความครอบคลุมของวัคซีนในพื้นที่ที่มีเด็กเสียชีวิตต่ำกว่าร้อยละ 60 ซึ่งตามเกณฑ์ที่กำหนดต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 จึงจะสามารถป้องกันโรคหัดได้สคร.12 สงขลา ยันยืนว่าวัคซีนโรคหัดที่นำมาใช้ในประเทศไทยเป็นวัคซีนที่ปลอดภัย ไม่มีส่วนประกอบมาจากหมู เป็นวัคซีนที่มีการใช้กันทั่วโลก โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศมุสลิม อย่างประเทศมาเลเซีย หรืออินโดนีเซีย ฯลฯ
โรคหัด เป็นโรคไข้ออกผื่น พบได้ทุกวัย และพบได้บ่อยในเด็กเล็ก อายุ 1-6 ปี เกิดจากเชื้อไวรัส Measles ซึ่งพบได้ในจมูกและลำคอของผู้ป่วย ติดต่อกันได้ง่ายมาก โดยการไอ จาม หรือพูดกันในระยะใกล้ชิด เชื้อไวรัสจะกระจายอยู่ในละอองเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย และเข้าสู่ร่างกายโดยทางการหายใจ บางครั้งเชื้ออยู่ในอากาศเมื่อหายใจเอาละอองที่ปนเปื้อนเชื้อไวรัสเข้าไปก็ทำให้เป็นโรคได้ ถ้าไม่มีภูมิต้านทานผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเป็นเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีน อาการของโรคหัด เริ่มด้วยมีไข้ น้ำมูกไหล ไอ ตาแดง ตาแฉะและกลัวแสง อาการต่างๆ จะมากขึ้นพร้อมกับไข้สูงขึ้น และจะสูงขึ้นเต็มที่เมื่อมีผื่นขึ้นในวันที่ 4 ลักษณะผื่นนูนแดงติดกันเป็นปื้นๆ โดยจะขึ้นที่หน้า บริเวณชิดขอบผม แผ่กระจายไปตามลำตัว แขน ขา เมื่อผื่นแพร่กระจายไปทั่วตัว ซึ่งกินเวลาประมาณ 2-3 วัน ไข้ก็จะเริ่มลดลง ผื่นระยะแรกมีสีแดงจะมีสีเข้มขึ้นเป็นสีแดงคล้ำ หรือน้ำตาลแดง บางครั้งจะพบผิวหนังลอกเป็นขุย การตรวจในระยะ 1-2 วัน ก่อนผื่นขึ้นจะพบจุดขาวๆ เล็กๆ มีขอบสีแดงๆ อยู่ในกระพุ้งแก้ม จะช่วยให้วินิจฉัยโรคได้ก่อนที่จะมีผื่นขึ้น อาการแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยมากโดยเฉพาะในเด็กเล็กคือ หูส่วนกลางอักเสบ หลอดลมอักเสบ หลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ อุจาระร่วง สมองอักเสบ อุจจาระร่วง สมองอักเสบ พบได้ประมาณ 1 ใน 1,000 ราย ซึ่งจะทำให้มีความพิการเหลืออยู่ ถ้าไม่เสียชีวิตทั้งนี้ โรคหัดป้องกันด้วยการฉัดวัคซีน ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุขให้วัคซีนป้องกันโรคหัด 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อเด็กอายุ 9-12 เดือน ครั้งที่ 2 เมื่อเด็กอายุ 2 ปี ครึ่ง โดยให้ในรูปของวัคซีนรวมป้องกันโรคคางทูม หัด หัดเยอรมัน (MMR)
และรายงานสถานการณ์ของโรคหัดในเขตเทศบาลนครยะลา จากกลุ่มงานเวชกรรมสังคมโรงพยาบาลศูนย์ยะลาพบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด อายุ ต่ำกว่า 1 ปี จำนวน 5 ราย, อายุ 2-3 ปี จำนวน 1 ราย,อายุ 3 – 4 ปี จำนวน
1 ราย รวมเป็น 7 ราย ซึ่งเป็นเด็กที่ยังไม่ถึงเกณฑ์รับวัคซีนหัดและผู้ปกครองเด็กปฏิเสธการรับวัคซีนป้องกันโรคหัดดังนั้นการให้ความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องวัคซีนแก่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กเจ้าหน้าที่ และการประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคหัดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชุมชน ก็เป็นส่วนหนึ่งในการช่วยป้องกันปัญหาการระบาดของโรคหัดเนื่องจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชุมชน อาจมีการแพร่กระจายเชื้อโรคได้ง่าย เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีเด็กอายุ 1- 6 ปี อาศัยอยู่กันอย่างหนาแน่นกลุ่มงานป้องกันและควบคุมโรคสำนักการศึกษาฝ่ายประชาสัมพันธ์ และกองสวัสดิการจึงได้จัด “โครงการป้องกันปัญหาการแพร่ระบาดของโรคหัดในเขตเทศบาลนครยะลา”ในครั้งนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่มีความเข้าใจเรื่องโรคหัด และวัคซีนป้องกันโรคหัดที่ถูกต้อง
  2. 2. เพื่อประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคหัด ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมทางวิชาการแนวทางการป้องกันโรคหัดระบาด แก่ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 300 คน ระยะเวลา ครึ่งวัน
  2. กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ์การป้องกัน โรคหัด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 5 แห่ง ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง จำนวน 6 แห่ง และรถประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ผืน รวม 12 ผืน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจเรื่องโรคหัด และวัคซีนป้องกันโรคหัดที่ถูกต้อง
  2. ไม่เกิดการระบาดของโรคหัดเพิ่มขึ้น และไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคหัด ในเขตเทศบาลนครยะลา

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่มีความเข้าใจเรื่องโรคหัด และวัคซีนป้องกันโรคหัดที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 300 คน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 5 แห่ง ชุมชนจำนวน 40 ชุมชน
80.00

 

2 2. เพื่อประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคหัด ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ไม่พบผู้ป่วยโรคหัดรายใหม่เพิ่มขึ้น ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี 2. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้ารับการประชุมไม่น้อยกว่า 80 %
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ครู  ผู้ดูแลเด็ก  ผู้ปกครอง  และเจ้าหน้าที่มีความเข้าใจเรื่องโรคหัด และวัคซีนป้องกันโรคหัดที่ถูกต้อง (2) 2. เพื่อประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคหัด ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมทางวิชาการแนวทางการป้องกันโรคหัดระบาด แก่ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 300 คน ระยะเวลา      ครึ่งวัน (2) กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ์การป้องกัน โรคหัด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 5 แห่ง  ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง จำนวน 6 แห่ง และรถประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ผืน รวม 12 ผืน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันปัญหาการแพร่ระบาดของโรคหัดในเขตเทศบาลนครยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L7452-5-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางทรงศรี มะโรหบุตร พยาบาลวิชาชีพปฎิบัติการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด