โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน ”
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน 123 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน
ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน 123 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 07/2560 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน 123 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน 123 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 07/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,195.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากผลการสำรวจและประเมินของกลุ่มทันตกรรมของโรงพยาบาลห้วยยอด ในปีการศึกษา 2555 เด็กกลุ่มอายุระหว่าง 2-6 ปี ที่เรียนอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน พบว่ามีนักเรียนประมาณร้อยละ 71.10 มีปัญหาสุขภาพในช่องปาก เนื่องจากเด็กไม่ได้รับการดูแลอย่างถูกวิธีและทั่วถึงจากบุคคลที่อยู่ใกล้ชิด การปล่อยละเลยไม่ได้รับการดูแลรักษาจากผู้ปกครอง ในการเอาใจใส่เรื่องการรับประทานอาหาร ซึ่งมักจะตามใจบุตรหลานเสมอในขณะที่เด็กอยู่ที่บ้าน เช่น รับประทานขนมที่มีรสหวาน ท๊อฟฟี่ ดื่มนมจากขวดนม และขนมขบเคี้ยวต่าง ๆ เด็กวัยดังกล่าวเป็นวัยที่ฟันน้ำนมขึ้นครบทุกซี่และไม่สามารถทำความสะอาดในช่องปากได้ดีด้วยตนเองประกอบกับฟันน้ำนมที่มีหลุมร่องฟันลึกและเป็นที่เก็บกักเศษอาหารต่าง ๆ ที่เด็กรับประทานเข้าไปได้เป็นอย่างดีและเด็กบางคนก็ไม่ชอบแปรงบฟัน ถ้าหากผู้ปกครองไม่ให้ความสนใจในเรื่องนี้ ปัญหาก็จะเกิดขึ้นกับเด็กมากยิ่ง่ขึ้น เช่น ปวดฟัน ฟันผุ เหงือกอักเสบและสูญเสียฟันไปในที่สุด
ทั้งนี้ เพื่อให้การดำเนินการแก้ปัญหาสุขภาพในช่องปากของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูนไปอย่างต่อ่เนื่องและหมดไป จึงได้ดำเนินการจัดโครงการนี้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งจากผลการสำรวจและประเมินของกลุ่มงานทันตกรรมของโรงพยาบาลห้วยยอด ในปีการศึกษา 2559 ได้แจ้งผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัยช่วงอายุ 3 ปี - 3 ปี 11 เดือน 29 วัน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตพื้นที่บริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและเทศบาลที่ดูแลศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแต่ละพื้นที่ และภาพรวมของฟันผุอำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน มีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาวะทันตสุขภาพลดลงอย่างเห็นได้ชัด เป็นร้อยละ 33.30 จึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อเป็นการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูนให้ลดลงหรือหมดไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับการบริการด้านสุขภาวะทันตสุขภาพต่อเนื่องทุกปี
- 2.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียนได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
73
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนได้รับการบริการด้านสุขภาวะทันตสุขภาพต่อเนื่องทุกปี
2.ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียนได้อย่างถูกต้อง
3.เกิดความร่วมมือระหว่าง ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1.กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญ 2. ประโยชน์ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน 3.อาหารที่มีผลในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน
วันที่ 31 กรกฎาคม 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนได้รับการบริการด้านสุขภาวะทันตสุขภาพต่อเนื่องทุกปี
2.ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียนได้อย่างถูกต้อง
3.เกิดความร่วมมือระหว่าง ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูนตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดทำโครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การส่งเสริม , ระวัง และวิธีการรักษาฟันที่เหมาะสมกับเด็ก
ผลการดำเนินโครงการดังกล่าว ทำให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับความสำคัญ , ประโยชน์ , อาหารที่มีผลต่อการรักษาฟัน และรู้จักวิธีการดูแลรักษาสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียน และได้รับความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ , การรักษาและการป้องกันโรคในช่องปาก เพื่อจะได้ร่วมมือกันดูและฟันของเด็กได้อย่างดีและมีประสิทธิภาพที่สุด
73
70
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เด็กในช่วงอายุ 2-6 ปี เป็นวัยที่มีความสำคัญที่สุดวัยหนึ่งของชีวิต เพราะเป็นวัยที่ต้องได้รับการพัฒนาครบทุกด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา ไปพร้อม ๆ กัน โดยเฉพาะถ้าเด็กมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องฟัน จะส่งผลให้การรับประทานอาหารมีปัญหา ซึ่งจะส่งผลต่อพัฒนาการด้านอื่น ๆ อีกด้วย คือ อารมณ์จะหงุดหงิด งอแง การทำกิจกรรมก็จะทำให้ไม่ดีเท่าที่ควร และถ้าเด็กไม่ได้รับการดูแลอย่างถูกวิธีและทั่วถึงจากบุคคลที่อยู่ใกล้ชิด การปล่อยละเลย ไม่ได้รับการดูแลรักษาจากผู้ปกครอง ในการเอาใจใส่เรื่องการรับประทานอาหาร ซึ่งผู้ปกครองมักจะตามใจบุตรหลานเสมอในขณะที่เด็กอยู่บ้าน เช่น รับประทานขนมที่มีรสหวาน ท๊อปฟี่ นม และขนมขบเคี้ยวต่าง ๆ เด็กวัยดังกล่าวเป็นวัยที่ฟันน้ำนมขึ้นครบทุกซี่และไม่สามารถทำความสะอาดในช่องปากได้ดีด้วยตนเองประกอบกับฟันน้ำนมที่มีหลุมร่องฟันลึกและเป็นที่เก็บกักเศษอาหารต่าง ๆ ที่เด็กรับประทานเข้าไปได้เป็นอย่างดี และเด็กบางคนก็ไม่ชอบแปรงฟัน ถ้าหากผู้ปกครองไม่ให้ความสนใจเรื่องนี้ ปัญหาก็จะเกิดขึ้นกับเด็กมากยิ่งขึ้น เช่น ปวดฟัน ฟันผุ เงือกอักเสบและสูญเสียฟันไปในที่สุด
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูนตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดทำโครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การส่งเสริม , ระวัง และวิธีการรักษาฟันที่เหมาะสมกับเด็ก
ผลการดำเนินโครงการดังกล่าว ทำให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับความสำคัญ , ประโยชน์ , อาหารที่มีผลต่อการรักษาฟัน และรู้จักวิธีการดูแลรักษาสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียน และได้รับความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ , การรักษาและการป้องกันโรคในช่องปาก เพื่อจะได้ร่วมมือกันดูแลฟันของเด็กได้อย่างดีและมีประสิทธิภาพที่สุด
งบประมาณ เป็นเงิน 6,030 บาท
1.ค่าตอบแทนวิทยากรในการจัดกิจกรรมในการให้ความรู้ผู้ปกครอง จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท (3x600) เป็นเงิน 1,800 บาท
2.ค่าจ้างเหมาจัดทำอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มสำหรับผู้่เข้ารับการอบรม จำนวน 1 มื้อ ๆ ละ 25 (70x25) เป็นเงิน 1,750 บาท
3.ค่าจ้างจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ (ขนาด 1.5x2.5) จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท
4.ค่าวัสดุในการฝึกอบรม ชุดอุปกรณ์ในการอบรมชุดละ 30 บาท (แปรงสีฟัน , ยาสีฟัน) เป็นเงิน 1,980 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้นักเรียนได้รับการบริการด้านสุขภาวะทันตสุขภาพต่อเนื่องทุกปี
ตัวชี้วัด :
2
2.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียนได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
73
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
73
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับการบริการด้านสุขภาวะทันตสุขภาพต่อเนื่องทุกปี (2) 2.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียนได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 07/2560
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน ”
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน 123 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน
กันยายน 2560
ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน 123 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 07/2560 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน 123 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน 123 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 07/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,195.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากผลการสำรวจและประเมินของกลุ่มทันตกรรมของโรงพยาบาลห้วยยอด ในปีการศึกษา 2555 เด็กกลุ่มอายุระหว่าง 2-6 ปี ที่เรียนอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน พบว่ามีนักเรียนประมาณร้อยละ 71.10 มีปัญหาสุขภาพในช่องปาก เนื่องจากเด็กไม่ได้รับการดูแลอย่างถูกวิธีและทั่วถึงจากบุคคลที่อยู่ใกล้ชิด การปล่อยละเลยไม่ได้รับการดูแลรักษาจากผู้ปกครอง ในการเอาใจใส่เรื่องการรับประทานอาหาร ซึ่งมักจะตามใจบุตรหลานเสมอในขณะที่เด็กอยู่ที่บ้าน เช่น รับประทานขนมที่มีรสหวาน ท๊อฟฟี่ ดื่มนมจากขวดนม และขนมขบเคี้ยวต่าง ๆ เด็กวัยดังกล่าวเป็นวัยที่ฟันน้ำนมขึ้นครบทุกซี่และไม่สามารถทำความสะอาดในช่องปากได้ดีด้วยตนเองประกอบกับฟันน้ำนมที่มีหลุมร่องฟันลึกและเป็นที่เก็บกักเศษอาหารต่าง ๆ ที่เด็กรับประทานเข้าไปได้เป็นอย่างดีและเด็กบางคนก็ไม่ชอบแปรงบฟัน ถ้าหากผู้ปกครองไม่ให้ความสนใจในเรื่องนี้ ปัญหาก็จะเกิดขึ้นกับเด็กมากยิ่ง่ขึ้น เช่น ปวดฟัน ฟันผุ เหงือกอักเสบและสูญเสียฟันไปในที่สุด ทั้งนี้ เพื่อให้การดำเนินการแก้ปัญหาสุขภาพในช่องปากของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูนไปอย่างต่อ่เนื่องและหมดไป จึงได้ดำเนินการจัดโครงการนี้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งจากผลการสำรวจและประเมินของกลุ่มงานทันตกรรมของโรงพยาบาลห้วยยอด ในปีการศึกษา 2559 ได้แจ้งผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัยช่วงอายุ 3 ปี - 3 ปี 11 เดือน 29 วัน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตพื้นที่บริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและเทศบาลที่ดูแลศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแต่ละพื้นที่ และภาพรวมของฟันผุอำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน มีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาวะทันตสุขภาพลดลงอย่างเห็นได้ชัด เป็นร้อยละ 33.30 จึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อเป็นการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูนให้ลดลงหรือหมดไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับการบริการด้านสุขภาวะทันตสุขภาพต่อเนื่องทุกปี
- 2.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียนได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 73 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนได้รับการบริการด้านสุขภาวะทันตสุขภาพต่อเนื่องทุกปี 2.ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียนได้อย่างถูกต้อง 3.เกิดความร่วมมือระหว่าง ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1.กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญ 2. ประโยชน์ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน 3.อาหารที่มีผลในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน |
||
วันที่ 31 กรกฎาคม 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนได้รับการบริการด้านสุขภาวะทันตสุขภาพต่อเนื่องทุกปี 2.ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียนได้อย่างถูกต้อง 3.เกิดความร่วมมือระหว่าง ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูนตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดทำโครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การส่งเสริม , ระวัง และวิธีการรักษาฟันที่เหมาะสมกับเด็ก ผลการดำเนินโครงการดังกล่าว ทำให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับความสำคัญ , ประโยชน์ , อาหารที่มีผลต่อการรักษาฟัน และรู้จักวิธีการดูแลรักษาสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียน และได้รับความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ , การรักษาและการป้องกันโรคในช่องปาก เพื่อจะได้ร่วมมือกันดูและฟันของเด็กได้อย่างดีและมีประสิทธิภาพที่สุด
|
73 | 70 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เด็กในช่วงอายุ 2-6 ปี เป็นวัยที่มีความสำคัญที่สุดวัยหนึ่งของชีวิต เพราะเป็นวัยที่ต้องได้รับการพัฒนาครบทุกด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา ไปพร้อม ๆ กัน โดยเฉพาะถ้าเด็กมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องฟัน จะส่งผลให้การรับประทานอาหารมีปัญหา ซึ่งจะส่งผลต่อพัฒนาการด้านอื่น ๆ อีกด้วย คือ อารมณ์จะหงุดหงิด งอแง การทำกิจกรรมก็จะทำให้ไม่ดีเท่าที่ควร และถ้าเด็กไม่ได้รับการดูแลอย่างถูกวิธีและทั่วถึงจากบุคคลที่อยู่ใกล้ชิด การปล่อยละเลย ไม่ได้รับการดูแลรักษาจากผู้ปกครอง ในการเอาใจใส่เรื่องการรับประทานอาหาร ซึ่งผู้ปกครองมักจะตามใจบุตรหลานเสมอในขณะที่เด็กอยู่บ้าน เช่น รับประทานขนมที่มีรสหวาน ท๊อปฟี่ นม และขนมขบเคี้ยวต่าง ๆ เด็กวัยดังกล่าวเป็นวัยที่ฟันน้ำนมขึ้นครบทุกซี่และไม่สามารถทำความสะอาดในช่องปากได้ดีด้วยตนเองประกอบกับฟันน้ำนมที่มีหลุมร่องฟันลึกและเป็นที่เก็บกักเศษอาหารต่าง ๆ ที่เด็กรับประทานเข้าไปได้เป็นอย่างดี และเด็กบางคนก็ไม่ชอบแปรงฟัน ถ้าหากผู้ปกครองไม่ให้ความสนใจเรื่องนี้ ปัญหาก็จะเกิดขึ้นกับเด็กมากยิ่งขึ้น เช่น ปวดฟัน ฟันผุ เงือกอักเสบและสูญเสียฟันไปในที่สุด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูนตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดทำโครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การส่งเสริม , ระวัง และวิธีการรักษาฟันที่เหมาะสมกับเด็ก ผลการดำเนินโครงการดังกล่าว ทำให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับความสำคัญ , ประโยชน์ , อาหารที่มีผลต่อการรักษาฟัน และรู้จักวิธีการดูแลรักษาสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียน และได้รับความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ , การรักษาและการป้องกันโรคในช่องปาก เพื่อจะได้ร่วมมือกันดูแลฟันของเด็กได้อย่างดีและมีประสิทธิภาพที่สุด
งบประมาณ เป็นเงิน 6,030 บาท 1.ค่าตอบแทนวิทยากรในการจัดกิจกรรมในการให้ความรู้ผู้ปกครอง จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท (3x600) เป็นเงิน 1,800 บาท 2.ค่าจ้างเหมาจัดทำอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มสำหรับผู้่เข้ารับการอบรม จำนวน 1 มื้อ ๆ ละ 25 (70x25) เป็นเงิน 1,750 บาท 3.ค่าจ้างจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ (ขนาด 1.5x2.5) จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท 4.ค่าวัสดุในการฝึกอบรม ชุดอุปกรณ์ในการอบรมชุดละ 30 บาท (แปรงสีฟัน , ยาสีฟัน) เป็นเงิน 1,980 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับการบริการด้านสุขภาวะทันตสุขภาพต่อเนื่องทุกปี ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียนได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 73 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 73 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับการบริการด้านสุขภาวะทันตสุขภาพต่อเนื่องทุกปี (2) 2.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียนได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาวะทันตสุขภาพนักเรียน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 07/2560
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......