กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างแรงจูงใจในการตรวจมะเร็งปากมดลูก ”
ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุแตบือราแง




ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างแรงจูงใจในการตรวจมะเร็งปากมดลูก

ที่อยู่ ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 พฤษภาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างแรงจูงใจในการตรวจมะเร็งปากมดลูก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละดือรามัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างแรงจูงใจในการตรวจมะเร็งปากมดลูก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างแรงจูงใจในการตรวจมะเร็งปากมดลูก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 พฤษภาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,875.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละดือรามัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันจำนวนผู้ป่วยโรคมะเร็งได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ของพี่น้องประชาชนคนไทย อัตราตายมีแนวโน้มสูงขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคมะเร็งปากมดลูก พบมากที่สุดในสตรีไทยเมื่อทราบว่าตนเองหรือญาติป่วยเป็นโรคมะเร็ง หลายคนสับสนและตื่นตระหนก เพราะเข้าใจว่าโรคมะเร็ง ไม่มีทางรักษาหายได้ ชีวิตที่เหลืออยู่จึงสิ้นหวัง ที่จริงแล้วในโลกปัจจุบัน มีโรคมะเร็งหลายชนิดที่สามารถถูกวินิจฉัยได้จากการตรวจสุขภาพประจำปี หรือการตรวจหามะเร็งเต้านมด้วยตนเองเช่น มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โดยการทำ PAP SMEAR และได้รับการรักษาระยะแรกๆ อย่างไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนผู้ป่วยโรคมะเร็งทั้งหมด ผลของการรักษาให้หายขาดยังอยู่ในอัตราน้อยมาก ทั้งนี้เพราะผู้ป่วยชาวไทยที่เป็นโรคมะเร็งมักจะพบแพทย์และได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง ก็ต่อเมื่ออยู่ในระยะที่เป็นมากแล้วเสมอการเชื่อถือโชคลาง ขนบธรรมเนียม ประเพณีแต่โบราณอย่างรู้เท่าไม่ถึงการณ์และปัญหาที่สำคัญอีกประการก็คือ ปัญหาในด้านฐานะของครอบครัวผู้ป่วยเองสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ทำให้ผู้ป่วยมาหาแพทย์ช้า และโรคอยู่ในระยะที่เป็นมากแล้ว ทำให้การรักษาไม่ได้ผลดีและมักจะเสียชีวิตเสมอ การที่จะค้นหามะเร็งได้ในขณะที่ยังไม่มีอาการหรือวินิจฉัยมะเร็งได้ในระยะที่เริ่มเป็นมีความสำคัญมากและจะต้องอาศัยความร่วมมือจากประชาชนผู้ป่วยเป็นอย่างมาก นอกเหนือจากความสามารถของแพทย์ และการพัฒนาความก้าวหน้าในด้านเครื่องมือทางการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดนโยบายในการดำเนินงาน เพื่อเสริมสร้างการมีสุขภาพดี โดยมีตัวชี้วัดในแผนยุทธศาสตร์ เพื่อ การลดโรคติดต่อและไม่ติดต่อ คือ สตรีอายุ 35 ปีขึ้นไป สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และสตรีที่มีอายุ 30 - 60 ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก (Pap smear ) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุแตบือราแง ตระหนักถึงความร้ายแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก ซึ่งอาจเป็นปัญหาของชุมชนในภายภาคหน้า หากไม่มีกิจกรรมรณรงค์ป้องกัน และเพื่อบรรลุตามตัวชี้วัดของกระทรวงฯ จึงได้จัดทำ “โครงการเสริมสร้างแรงจูงใจในการตรวจมะเร็งปากมดลูก” ขึ้นเพื่อสร้างแรงจูงใจให้สตรีที่มีอายุ 30 - 60 มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก เพราะเป็นวัยที่มีโอกาสเป็นมะเร็งดังกล่าวได้ง่าย ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของสตรีในประเทศไทย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้สตรีที่มีอายุ 30-60 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
  2. 2. เพื่อให้สตรีที่มีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
  3. 3. เพื่อให้อัตราการเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน อุแตบือราแงเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2559

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สตรีที่มีอายุ 30-60 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
    2. สตรีที่มีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
    3. อัตราการเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน อุแตบือราแง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้สตรีที่มีอายุ 30-60 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้สตรีที่มีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้อัตราการเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน อุแตบือราแงเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2559
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้สตรีที่มีอายุ 30-60 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก (2) 2. เพื่อให้สตรีที่มีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก (3) 3. เพื่อให้อัตราการเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน อุแตบือราแงเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2559

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเสริมสร้างแรงจูงใจในการตรวจมะเร็งปากมดลูก จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุแตบือราแง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด