กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2562 ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 -4-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 – L7452 -4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 567,840.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลนครยะลา ได้รับบริการส่งเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาเชิงรุก ให้แก่ประชาชนในพื้นที่อย่างทั่วถึง และสร้างหลักประกันให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น หรือสนับสนุนและส่งเสริมให้กลุ่มบุคคลตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป หรือองค์กรประชาชน ให้ครอบคลุมเป้าหมายกลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูง กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง รวมถึงการบริหารจัดการหรือพัฒนากองทุน และแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ดังนั้น กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ได้วางแผนระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพภายใต้การอภิบาลผ่านความร่วมมือ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และสร้างความเป็นเจ้าของของทุกภาคส่วนในพื้นที่เทศบาล เป็นเครื่องมือสำคัญสนับสนุนการจัดทำแผนงาน โครงการและมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน คือทำให้ประชาชนทุกคนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านร่างกายและจิตใจอย่างยั่งยืน จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา
  2. ข้อที่ 2. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของกองทุน หลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา และส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายต่างๆ มีส่วนร่วมการของบประมาณสนับสนุนการดำเนินโครงการ
  3. ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของกองทุน หลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา และเน้นการส่งเสริมให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ 21 คน และผู้เกี่ยวข้องกองทุนฯ 4 คน รวมเป็น 25 คน จำนวน 6 ครั้ง/ปี *ข้อ 21 ให้คณะกรรมการ ที่ปรึกษา อนุกรรมการ และคณะทำงาน ได้รับค่าตอบแทนในการประชุม ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง และค่าใช้จ่ายอื่น รวมถึงบุคคลภายนอก และเ
  2. กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะอนุกรรมการเลขานุการกองทุนฯ 16 คน และผู้เกี่ยวข้อง 4 คน จำนวน 2 ครั้ง/ปี
  3. กิจกรรมที่ 3 ประชุมคณะอนุกรรมการ พิจารณากลั่นกรองแผนงาน/โครงการ กองทุนฯ 22 คน และผู้เกี่ยวข้อง 3 คน รวมเป็น 25 คน จำนวน 6 ครั้ง/ปี
  4. กิจกรรมที่ 4 ประชุมคณะอนุกรรมการประเมินผลกองทุนฯ 17 คน และผู้เกี่ยวข้อง 3 คน รวม 20 คน จำนวน 3 ครั้ง/ปี
  5. กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะอนุกรรมการการเงินและบัญชี กองทุนฯ (10 คน) 1 ครั้ง/ปี
  6. กิจกรรมที่ 6 ประชุมคณะอนุกรรมการจัดซื้อจัดจ้าง กองทุนฯ (7 คน) 1 ครั้ง/ปี
  7. กิจกรรมที่ 7 ประชุมคณะอนุกรรมการตรวจรับวัสดุ/ครุภัณฑ์ กองทุนฯ 11 คน และผู้เกี่ยวข้อง 4 คน รวม 15 คน 1 ครั้ง/ปี
  8. กิจกรรมที่ 8 ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 10 คน และผู้เกี่ยวข้อง 5 คน รวม 15 คน 2 ครั้ง/ปี
  9. กิจกรรมที่ 9 ประชุมคณะทำงานดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 72 คน 2 ครั้ง/ปี
  10. กิจกรรมที่ 10 กิจกรรมการจัดทำแผนสุขภาพประจำปี กิจกรรมจัดทำโครงการประชุมรับฟังความคิดเห็นและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กองทุนฯ
  11. กิจกรรมที่ 11 กิจกรรมบริหารจัดการกองทุนฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา สามารถบริหารจัดการกองทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. องค์กรภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องด้านสุขภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลามีความเข้าใจใน บทบาทหน้าที่สามารถดำเนินงานกองทุนฯเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
  3. ประชาชนในเขตเทศบาลนครยะลา มีส่วนร่วมและเข้าถึงบริการของกองทุนฯ
  4. กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา มีการเผยแพร่การดำเนินงานของกองทุนฯ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงานกองทุนมีการเข้าร่วมประชุมตามกำหนดการที่กำหนด
80.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของกองทุน หลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา และส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายต่างๆ มีส่วนร่วมการของบประมาณสนับสนุนการดำเนินโครงการ
ตัวชี้วัด : 2.การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน กองทุนฯ อย่างน้อยปีละ 3.กองทุนมีการสนับสนุนงบประมาณให้ภาคีเครือข่ายในปีงบประมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
60.00

 

3 ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของกองทุน หลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา และเน้นการส่งเสริมให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : 4. ร้อยละ 80 ของชุมชนในเขตเทศบาลนครยะลา มีความพึงพอใจ ในการดำเนินงานกองทุนฯ
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา (2) ข้อที่ 2. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของกองทุน หลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา และส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายต่างๆ มีส่วนร่วมการของบประมาณสนับสนุนการดำเนินโครงการ (3) ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของกองทุน หลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา และเน้นการส่งเสริมให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1  ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ 21 คน และผู้เกี่ยวข้องกองทุนฯ 4 คน รวมเป็น 25 คน จำนวน 6 ครั้ง/ปี *ข้อ 21 ให้คณะกรรมการ ที่ปรึกษา อนุกรรมการ และคณะทำงาน ได้รับค่าตอบแทนในการประชุม ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง และค่าใช้จ่ายอื่น รวมถึงบุคคลภายนอก และเ (2) กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะอนุกรรมการเลขานุการกองทุนฯ 16 คน และผู้เกี่ยวข้อง 4 คน จำนวน 2 ครั้ง/ปี (3) กิจกรรมที่ 3  ประชุมคณะอนุกรรมการ พิจารณากลั่นกรองแผนงาน/โครงการ  กองทุนฯ 22 คน  และผู้เกี่ยวข้อง 3 คน รวมเป็น 25 คน จำนวน 6 ครั้ง/ปี (4) กิจกรรมที่ 4  ประชุมคณะอนุกรรมการประเมินผลกองทุนฯ 17 คน และผู้เกี่ยวข้อง 3 คน รวม 20 คน จำนวน 3 ครั้ง/ปี (5) กิจกรรมที่ 5  ประชุมคณะอนุกรรมการการเงินและบัญชี กองทุนฯ (10 คน) 1 ครั้ง/ปี (6) กิจกรรมที่ 6  ประชุมคณะอนุกรรมการจัดซื้อจัดจ้าง กองทุนฯ (7 คน) 1 ครั้ง/ปี (7) กิจกรรมที่ 7  ประชุมคณะอนุกรรมการตรวจรับวัสดุ/ครุภัณฑ์ กองทุนฯ 11 คน และผู้เกี่ยวข้อง 4 คน รวม 15 คน 1 ครั้ง/ปี (8) กิจกรรมที่ 8 ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 10 คน และผู้เกี่ยวข้อง 5 คน รวม 15 คน 2 ครั้ง/ปี (9) กิจกรรมที่ 9 ประชุมคณะทำงานดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 72 คน    2 ครั้ง/ปี (10) กิจกรรมที่ 10  กิจกรรมการจัดทำแผนสุขภาพประจำปี กิจกรรมจัดทำโครงการประชุมรับฟังความคิดเห็นและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กองทุนฯ (11) กิจกรรมที่ 11 กิจกรรมบริหารจัดการกองทุนฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2562 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 -4-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด