กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี


“ โครงการตรวจหาสารพิษตกค้างในเกษตรกร รพ.สต.บ้านทุ่งนารี ”

ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งนารี

ชื่อโครงการ โครงการตรวจหาสารพิษตกค้างในเกษตรกร รพ.สต.บ้านทุ่งนารี

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3341-1-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจหาสารพิษตกค้างในเกษตรกร รพ.สต.บ้านทุ่งนารี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจหาสารพิษตกค้างในเกษตรกร รพ.สต.บ้านทุ่งนารี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจหาสารพิษตกค้างในเกษตรกร รพ.สต.บ้านทุ่งนารี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3341-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,225.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันเกษตรกรหันมาใช้สารเคมีปราบศัตรูพืชแทนการใช้พืชที่เป็นสมุนไพรหรือใช้วิธีชีวภาพปราบศัตรูพืชกันมากขึ้นทำให้ผู้บริโภคเกิดความไม่มั่นใจในการเลือกบริโภคอาหารประเภทผักและผลไม้ในเขตรับผิดชอบการให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านทุ่งนารีก็เป็นพื้นที่ที่ประชากรมีอาชีพเป็นเกษตรกรจากข้อมูลการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านทุ่งนารีมีการตรวจเลือดเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงกับการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช และผู้บริโภคทั่วไปในเขตรับผิดชอบการให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านทุ่งนารี จำนวน๑51คนพบว่ากลุ่มเป้าหมายมีผลการตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้าง ในระดับปกติ29 คนคิดเป็นร้อยละ๑9.๒1ระดับปลอดภัย4๓ คน คิดเป็นร้อยละ๒8.๔7ระดับเสี่ยง 54คนคิดเป็นร้อยละ35.76 ระดับไม่ปลอดภัย25คนคิดเป็นร้อยละ 16.55จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีระดับสารเคมีตกค้างในร่างกายในระดับปกติ คือไม่มีสารเคมีตกค้างเพียงร้อยละ ๑9.๒1ซึ่งเป็นอัตราที่ค่อนข้างน้อย เมื่อเทียบกับประชากรที่พบว่ามีสารเคมีตกค้างซึ่งรวมแล้วมีมากถึงร้อยละ ๘0.๗8และน่าเป็นห่วงเป็นอย่างยิ่งที่พบว่ามีสารเคมีตกค้างในระดับไม่ปลอดภัยถึงร้อยละ16.78 จากการสอบถามข้อมูลการบริโภคผักผลไม้ของประชาชนในพื้นที่ พบว่าประชาชนส่วนใหญ่นิยมซื้อผักที่แม่ค้านำมาขายที่ตลาด มากกว่าการปลูกผักกินเอง แต่มีประชาชนส่วนหนึ่งในพื้นที่ปลูกผักกินเอง และถ้าเหลือจากกินก็จะนำไปขายที่ตลาดใกล้บ้านจากการสอบถามผู้ปลูกผักก็ยังพบการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืชอยู่ ดังนั้นเพื่อเป็นการยับยั้ง และปลูกจิตสำนึกของเกษตรกรผู้ปลูกผักทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งนารีจึงได้ทำโครงการตรวจหาสารพิษตกค้างในเกษตรกรเพื่อเป็นการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ปัญหาสารเคมีตกค้างในร่างกายของเกษตรกรและผู้บริโภคตั้งแต่ต้นทางการปลูก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกษตรกรรู้ว่าตัวเองมีสารตกค้างในเลือดในระดับใด.
  2. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้และตระหนักถึงอันตรายในการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช
  3. เพื่อให้เกษตรกรได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง...

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 45
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1…เกษตรกรได้รับการตรวจเลือด และรู้ผลมีสารตกค้างอยู่ในระดับใด… 2 เกษตรกรมีความรู้และเข้าใจอันตรายจากการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช. 3…เกษตรกรมีความรู้ในการป้องกันตัวเองหากมีความจำเป็นต้องใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมย่อยเจาะเลือดเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง 45 คน

    วันที่ 27 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.นัดเกษตรกรประชุมชี้แจงและให้ความรู้ เรื่อสารพิษตกค้างในเลือด การเลือกกินผัก ผลไม้ อาหารที่คาดว่าจะปนเปื้อนสารพิษ 2.จัดหาอุปกรณ์ในการตรวจ
    3.เจาะเลือดหาสารพิษตกค้างในเกษตรกร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เจาะเลือดเกษตรกร  จำนวน 45 คน  ผลการตรวจ พบวามีระดับปกติ  3 คน  ระดับปลอดภัย  8 คน  ระดับเสี่ยง 21 คน  ไม่ปลอดภัย 13 คน  รวมเสี่ยงกับไม่ปลอดภัย 34  คน  คิดเป็นร้อยละ 75.56  จะเห็นว่ากลุ่มเป้าหมายมีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัยมากกว่าครึ่ง     กลุ่มเป้าหมายมีความสนใจในกิจกรรม มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น

     

    45 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เกษตรกรรู้ว่าตัวเองมีสารตกค้างในเลือดในระดับใด.
    ตัวชี้วัด : เกษตรกรรับรู้ได้ว่ามีสารตกค้างในระดับใด

     

    2 เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้และตระหนักถึงอันตรายในการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช
    ตัวชี้วัด : เกษตรกรมีความตระหนักถึงอันตรายในสารเคมี

     

    3 เพื่อให้เกษตรกรได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง...
    ตัวชี้วัด : เกษตรกรพร้อมจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใช้สารเคมี

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 45
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรรู้ว่าตัวเองมีสารตกค้างในเลือดในระดับใด. (2) เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้และตระหนักถึงอันตรายในการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช (3) เพื่อให้เกษตรกรได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง...

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการตรวจหาสารพิษตกค้างในเกษตรกร รพ.สต.บ้านทุ่งนารี จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3341-1-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งนารี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด