โครงการทันตสาธารณสุขแบบบูรณการ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการทันตสาธารณสุขแบบบูรณการ ”
ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุแตบือราแง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละดือรามัน
มิถุนายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการทันตสาธารณสุขแบบบูรณการ
ที่อยู่ ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 มิถุนายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการทันตสาธารณสุขแบบบูรณการ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละดือรามัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการทันตสาธารณสุขแบบบูรณการ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการทันตสาธารณสุขแบบบูรณการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,975.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละดือรามัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การศึกษา การเกิดโรคฟันผุและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 3 – 12 ปี เมื่อปี 2547 พบผู้เป็นโรคฟันผุในฟันแท้กลุ่มอายุ 6 – 8 ปี และ 9 – 12 ร้อยละ 22.5 และ 70.8 ตามลำดับ (จากนิตยสารทันตสาธารณสุข ปีที่ 9 ฉบับที่ 1-2 มกราคม – ธันวาคม 2547 หน้า 47) ซึ่งยังคงเป็นอัตราที่ค่อนข้างสูง และค่ารักษาทางทันตกรรมค่อนข้างสูงด้วย เป้าหมายทันตสุขภาพระยะยาวของประเทศไทยปี 2563 ระบุว่า “คนไทยมีสุขภาพช่องปากดี บด เคี้ยวได้ อยู่ในสังคมอย่างปกติสุข ทุกช่วงวัยของชีวิต” การที่จะบรรลุเป้าหมายระยะยาวได้นั้นจะต้องเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก หรือเริ่มตั้งแต่ระยะฟันน้ำนมเริ่มขึ้น ฟันได้รับการดูแลอย่างดี เมื่อถึงวัยผู้ใหญ่จะมีฟันใช้งานได้ครบทั้งปาก ไม่มีโรคในช่องปาก ไม่มีความเจ็บปวดในช่องปาก คงสภาวะเช่นนี้ได้ตลอดชีวิต
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปากเป็นกิจกรรมหนึ่งที่จะทำให้เด็กมีสุขภาพดี การป้องกันโรคฟันผุในเด็กควรเริ่มตั้งแต่แม่ตั้งครรภ์ เพราะฟันน้ำนมของเด็กเริ่มสร้างและมีการสะสมแร่ธาตุเกือบสมบูรณ์ขณะอยู่ในครรภ์ ประกอบกับปัจจุบันมีหลักฐานที่สนับสนุนว่าการเป็นโรคปริทันต์มีผลต่อการเกิดภาวการณ์คลอดก่อนกำหนด และเด็กน้ำหนักแรกเกิดน้อย แม่ที่มีฟันผุจะมีเชื้อจุลินทรีย์ในปากจำนวนมาก ซึ่งเชื้อนี้สามารถถ่ายทอดสู่ลูกได้ทางน้ำลายและจากข้อมูลทางระบาดวิทยาของประเทศไทย พบว่า ช่วงอายุ 0-3 ปี เป็นช่วงที่อัตราการเกิดฟันผุใน ฟันน้ำนมของเด็กเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและเป็นช่วงวัยสำคัญที่สุดในการป้องกันฟันผุ เพราะวัยนี้ ถ้าช่องปากไม่สะอาด จะเอื้อต่อการตั้งรกรากของเชื้อจุลินทรีย์ ทำให้เกิดฟันผุอย่างรวดเร็ว และมักจบลงด้วยการมีฟันผุทั้งปาก แต่ถ้าช่วงวัยนี้ช่องปากสะอาด มีแนวโน้มว่าเด็กจะฟันผุน้อย หรือปราศจากฟันผุ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยที่สำคัญในช่วงนี้ ได้แก่ การควบคุมอาหารหวานและการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ วันละ 2 ครั้ง ควบคู่ไปกับการป้องกันโรคฟันผุโดยเน้นการตรวจคัดกรองเด็กที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุ เพื่อทาฟลูออไรด์ความเข้มข้นสูง เช่น ฟลูออไรด์วาร์นิช การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันฟันผุในเด็กต้องดำเนินการร่วมกันระหว่างทันตบุคลากร และบุคลากรที่ปฏิบัติงานในคลินิกสุขภาพเด็กดี ซึ่งจะเป็นผู้ที่มีโอกาสพบเด็กและพ่อแม่เป็นระยะสม่ำเสมอและเป็นผู้ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการตรวจคัดกรองเด็กที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุ เพื่อส่งต่อไปรับบริการป้องกัน รวมทั้งการให้คำแนะนำพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอย่างเหมาะสม เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน จำเป็นที่จะต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ปกครองเข้าใจ และตระหนักเรื่องทันตสุขภาพ ตลอดจนการให้ความสำคัญในการดูแลฟันซี่แรกของลูก เพราะการเริ่มต้นดูแลตั้งแต่เริ่มต้นเป็นสิ่งสำคัญอันจะนำสู่การมีสุขภาวะช่องปากที่ดีในวัยผู้ใหญ่ ต่อไป
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุแตบือราแง จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากใน 3 กลุ่มวัย เพื่อส่งเสริมให้ เด็ก หญิงตั้งครรภ์ ผู้สูงอายุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน
- 2. เพื่อส่งเสริมการดูแลช่องปากในหญิงตั้งครรภ์
- 3. เพื่อส่งเสริมการดูแลช่องปากในผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มนักเรียนในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก และสาธิตวิธีการแปรงฟันที่ถูกต้อง
- กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก และสาธิตวิธีการแปรงฟันที่ถูกต้อง
- กลุ่มผู้สูงอายุในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก และสาธิตวิธีการแปรงฟันที่ถูกต้องตลอดจนวิธีการดูแลเหงือกที่ถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด :
2
2. เพื่อส่งเสริมการดูแลช่องปากในหญิงตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อส่งเสริมการดูแลช่องปากในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน (2) 2. เพื่อส่งเสริมการดูแลช่องปากในหญิงตั้งครรภ์ (3) 3. เพื่อส่งเสริมการดูแลช่องปากในผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการทันตสาธารณสุขแบบบูรณการ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุแตบือราแง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการทันตสาธารณสุขแบบบูรณการ ”
ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุแตบือราแง
มิถุนายน 2560
ที่อยู่ ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 มิถุนายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการทันตสาธารณสุขแบบบูรณการ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละดือรามัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการทันตสาธารณสุขแบบบูรณการ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการทันตสาธารณสุขแบบบูรณการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,975.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละดือรามัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การศึกษา การเกิดโรคฟันผุและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 3 – 12 ปี เมื่อปี 2547 พบผู้เป็นโรคฟันผุในฟันแท้กลุ่มอายุ 6 – 8 ปี และ 9 – 12 ร้อยละ 22.5 และ 70.8 ตามลำดับ (จากนิตยสารทันตสาธารณสุข ปีที่ 9 ฉบับที่ 1-2 มกราคม – ธันวาคม 2547 หน้า 47) ซึ่งยังคงเป็นอัตราที่ค่อนข้างสูง และค่ารักษาทางทันตกรรมค่อนข้างสูงด้วย เป้าหมายทันตสุขภาพระยะยาวของประเทศไทยปี 2563 ระบุว่า “คนไทยมีสุขภาพช่องปากดี บด เคี้ยวได้ อยู่ในสังคมอย่างปกติสุข ทุกช่วงวัยของชีวิต” การที่จะบรรลุเป้าหมายระยะยาวได้นั้นจะต้องเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก หรือเริ่มตั้งแต่ระยะฟันน้ำนมเริ่มขึ้น ฟันได้รับการดูแลอย่างดี เมื่อถึงวัยผู้ใหญ่จะมีฟันใช้งานได้ครบทั้งปาก ไม่มีโรคในช่องปาก ไม่มีความเจ็บปวดในช่องปาก คงสภาวะเช่นนี้ได้ตลอดชีวิต การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปากเป็นกิจกรรมหนึ่งที่จะทำให้เด็กมีสุขภาพดี การป้องกันโรคฟันผุในเด็กควรเริ่มตั้งแต่แม่ตั้งครรภ์ เพราะฟันน้ำนมของเด็กเริ่มสร้างและมีการสะสมแร่ธาตุเกือบสมบูรณ์ขณะอยู่ในครรภ์ ประกอบกับปัจจุบันมีหลักฐานที่สนับสนุนว่าการเป็นโรคปริทันต์มีผลต่อการเกิดภาวการณ์คลอดก่อนกำหนด และเด็กน้ำหนักแรกเกิดน้อย แม่ที่มีฟันผุจะมีเชื้อจุลินทรีย์ในปากจำนวนมาก ซึ่งเชื้อนี้สามารถถ่ายทอดสู่ลูกได้ทางน้ำลายและจากข้อมูลทางระบาดวิทยาของประเทศไทย พบว่า ช่วงอายุ 0-3 ปี เป็นช่วงที่อัตราการเกิดฟันผุใน ฟันน้ำนมของเด็กเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและเป็นช่วงวัยสำคัญที่สุดในการป้องกันฟันผุ เพราะวัยนี้ ถ้าช่องปากไม่สะอาด จะเอื้อต่อการตั้งรกรากของเชื้อจุลินทรีย์ ทำให้เกิดฟันผุอย่างรวดเร็ว และมักจบลงด้วยการมีฟันผุทั้งปาก แต่ถ้าช่วงวัยนี้ช่องปากสะอาด มีแนวโน้มว่าเด็กจะฟันผุน้อย หรือปราศจากฟันผุ การส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยที่สำคัญในช่วงนี้ ได้แก่ การควบคุมอาหารหวานและการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ วันละ 2 ครั้ง ควบคู่ไปกับการป้องกันโรคฟันผุโดยเน้นการตรวจคัดกรองเด็กที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุ เพื่อทาฟลูออไรด์ความเข้มข้นสูง เช่น ฟลูออไรด์วาร์นิช การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันฟันผุในเด็กต้องดำเนินการร่วมกันระหว่างทันตบุคลากร และบุคลากรที่ปฏิบัติงานในคลินิกสุขภาพเด็กดี ซึ่งจะเป็นผู้ที่มีโอกาสพบเด็กและพ่อแม่เป็นระยะสม่ำเสมอและเป็นผู้ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการตรวจคัดกรองเด็กที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุ เพื่อส่งต่อไปรับบริการป้องกัน รวมทั้งการให้คำแนะนำพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอย่างเหมาะสม เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน จำเป็นที่จะต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ปกครองเข้าใจ และตระหนักเรื่องทันตสุขภาพ ตลอดจนการให้ความสำคัญในการดูแลฟันซี่แรกของลูก เพราะการเริ่มต้นดูแลตั้งแต่เริ่มต้นเป็นสิ่งสำคัญอันจะนำสู่การมีสุขภาวะช่องปากที่ดีในวัยผู้ใหญ่ ต่อไป ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุแตบือราแง จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากใน 3 กลุ่มวัย เพื่อส่งเสริมให้ เด็ก หญิงตั้งครรภ์ ผู้สูงอายุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน
- 2. เพื่อส่งเสริมการดูแลช่องปากในหญิงตั้งครรภ์
- 3. เพื่อส่งเสริมการดูแลช่องปากในผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มนักเรียนในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก และสาธิตวิธีการแปรงฟันที่ถูกต้อง
- กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก และสาธิตวิธีการแปรงฟันที่ถูกต้อง
- กลุ่มผู้สูงอายุในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก และสาธิตวิธีการแปรงฟันที่ถูกต้องตลอดจนวิธีการดูแลเหงือกที่ถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. เพื่อส่งเสริมการดูแลช่องปากในหญิงตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อส่งเสริมการดูแลช่องปากในผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน (2) 2. เพื่อส่งเสริมการดูแลช่องปากในหญิงตั้งครรภ์ (3) 3. เพื่อส่งเสริมการดูแลช่องปากในผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการทันตสาธารณสุขแบบบูรณการ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุแตบือราแง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......