กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ”
ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวณัฏฐณิชา ริทธิ์โต (นักวิชาการสาธารณสุข)




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน

ที่อยู่ ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 96,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในช่วง 0-72 เดือน เป็นช่วงที่เริ่มมีพัฒนาการในด้านต่างๆอย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้านก็จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต ซึ่งพัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกันโดยพัฒนาการทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมดการเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในเด็กอายุระหว่าง 0-72 เดือน ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากการขาดสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย โภชนาการเกิน ปัญหาสุขภาพช่องปาก และพัฒนาการที่ไม่สมวัยของเด็กโดยมีสาเหตุสำคัญมาจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลงและการให้เด็กบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมกับช่วงวัย ดังนั้นการเฝ้าระวังด้านโภชนาการ การส่งเสริมสุขภาพช่องปากและการส้ฃ่งเสริมพัฒนาการในเด็กวัย 0-72 เดือนจึงมีความสำคัญเพื่อที่จะทำให้เด็กอายุ 0-72 เดือน มีสุขภาพร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และด้านสติปัญญาที่ดี ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปรางได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเฝ้สระวังทางโภชนาการ การส่งเสริมสุขภาพช่องปากและการส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมอง และร่างกายเหมาะสมตามวัย เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ จึงได้จัดทำโครงการตเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และการส่งเสริพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน
  2. เพื่อให้เด็กอายุ 0-72 เดือน มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
  3. เพื่อให้เด็กอายุ 0-72 เดือน ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
  4. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ 0-72 เดือน
  5. เพื่อสร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก
  6. เพื่อให้มีมุมพัฒนาการสำหรับเด็กอายุ 0-72 เดือน ในโรงพยบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กอายุ 0-72 เดือน ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย พัฒนาการด้านสติปัญญา และสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
    2. เด็กอายุ 0-72 เดือน ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง ได้รับการดูแลสุขภาพร่างกาย การดูแลรักษาทีี่ถูกต้อง
    3. ผู้ปกครองมีความรู้และสามารถเลี้ยงดูบุตรหลานได้อย่างถูกวิธีและเหมาะสม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    แบบรายงานผลการดำเนินงาน โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก 0 – 72 เดือน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง  ประจำปีงบประมาณ 2560

    1. ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก 0- 72 เดือน ปีงบประมาณ
      2560
    2. วัตถุประสงค์
      1. เพื่อลดปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก 0 – 72 เดือน
      2. เพื่อให้เด็ก 0- 72 เดือน มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม 3.เพื่อให้เด็ก 0- 72 เดือน ที่พัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัยและได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่ผิดปกติมาก
      3. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก 0 – 72 เดือน
      4. เพื่อสร้างเสริมความรักและความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก
      5. เพื่อให้มีมุมพัฒนาการสำหรับเด็ก 0 – 72 เดือน ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง
    3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าชะมวง จำนวน 96,700 บาท (เก้าหมื่นหกพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน) งบประมาณที่เบิกจ่ายจริง 96,700 บาท โดยการจ่ายตามข้อตกลง ดังนี้
      1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมให้ความรู้ ผู้ปกครองเด็ก จำนวน 50 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท
      2. ค่าอาหารเสริม (นมกล่อง) เด็ก จำนวน 50 คน คนละ 30 กล่อง/เดือน กล่องละ 10 บาท กิน 6 เดือน เป็นจำนวน 90,000 บาท
      3. ค่าจ้างเหมาทำป้ายไวนิล จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 450 บาท
      4. ค่าเครื่องชั่งน้ำหนักเด็กอ่อน 1 เครื่อง เป็นเงิน 2,500 บาท
      5. ค่าชุดวัดความยาว 1 เครื่อง เป็นเงิน 2,500 บาท รวมใช้จ่ายทั้งหมดเป็นเงิน 96,700 บาท (เก้าหมื่นหกพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน) คงเหลืองบประมาณและส่งคืน  –  บาท
    4. ระยะเวลาดำเนินงาน  เมษายน 2560 – กันยายน 2560
    5. ผลการดำเนินงาน
      ชั่งน้ำหนักเด็ก 0 – 72 เดือน จำนวน 874 คน จัดอบรมให้ความรู้ ผู้ปกครองเด็ก 0 – 72 เดือน จำนวน 50 คน จ่ายอาหารเสริม  (นมโครสจืด)  ให้แก่เด็กที่มีภาวะเสี่ยงประจำเดือน

    - เมษายน  2560 จำนวน 50 คน - พฤษภาคม 2560 จำนวน 50 คน - มิถุนายน 2560 จำนวน 50 คน - กรกฎาคม 2560 จำนวน 50 คน - สิงหาคม 2560 จำนวน 50 คน - กันยายน 2560 จำนวน 50 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้เด็กอายุ 0-72 เดือน มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้เด็กอายุ 0-72 เดือน ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ 0-72 เดือน
    ตัวชี้วัด :

     

    5 เพื่อสร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก
    ตัวชี้วัด :

     

    6 เพื่อให้มีมุมพัฒนาการสำหรับเด็กอายุ 0-72 เดือน ในโรงพยบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน (2) เพื่อให้เด็กอายุ 0-72 เดือน มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม (3) เพื่อให้เด็กอายุ 0-72 เดือน ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ 0-72 เดือน (5) เพื่อสร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก (6) เพื่อให้มีมุมพัฒนาการสำหรับเด็กอายุ 0-72 เดือน ในโรงพยบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวณัฏฐณิชา ริทธิ์โต (นักวิชาการสาธารณสุข) )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด