กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ร้อยตรี สุริยา นวลเต็ม

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3351-02-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L3351-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขมีบทบาทในการดำเนินงานดูแลสุขภาพของประชาชนให้ครอบคลุมใน 4 มิติ คือ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู โดยที่ประชาชนแต่กลุ่มจะได้รับการดูแลที่แตกต่างกัน ตามสภาวะสุขภาพที่เกิดปัญหาประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ภายในปี 2564 ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุมีทั้งปัญหาสุขภาพทางด้านร่างกายเกิดการเจ็บป่วย พิการ อัมพฤกษ์ อัมพาตและผู้ป่วยติดเตียงที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ หรือที่เรียกว่า ภาวะพึงพิงปัญหาสุขภาพจิต เกิดภาวะซึมเศร้า ไม่อยากเข้าร่วมสังคม ที่เรียกว่า ติดบ้าน ปัญหาผู้สูงอายุเป็นปัญหาที่มีปัจจัยมาจากสุขภาพร่างกายที่เปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่บ้านและในชุมชน และระบบการให้บริการ การไม่ได้รับบริการตามความจำเป็น การแก้ไขปัญหาต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน เพื่อช่วยพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่พ.ศ. 2552 ขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 3 มาตรการที่ 4.2 กล่าวถึงการจัดตั้งและพัฒนาบริการทางสุขภาพและทางสังคมรวมทั้งระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนที่สามารถเข้าถึงผู้สูงอายุได้มากที่สุด เน้นการบริการถึงบ้านและประสานกันระหว่างบริการทางสุขภาพและทางสังคม เน้นให้มีการสนับสนุนการดูแลระยะยาว ระบบประคับประคอง สนับสนุนให้ภาคีเครือข่าย ญาติ ที่ดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ มีความรู้ ความสามารถในการดูแลสุขภาพทางกายและสังคมที่ถูกต้อง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย มีประชากรผู้สูงอายุทั้งหมด 531 คน ในปี 2561มีผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง 253 คน คิดเป็นอัตราป่วย 47.64 โรคเบาหวาน จำนวน 77 คน คิดเป็นอัตราป่วย 14.50โรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 32 คน คิดเป็นอัตราป่วย 6.03 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงายได้ดำเนินการ ประเมินผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ พบว่า เป็นผู้สูงอายุที่ติดสังคมมากที่สุด ร้อยละ 47.46 รองลงมา ติดบ้าน ร้อยละ6.36และติดเตียง ร้อยละ 0.79 ที่น่ากังวล คือ แนวโน้มมีผู้สูงอายุติดเตียงเพิ่มขึ้นทุกปี จากการดำเนินงานที่ผ่านมาเจ้าหน้าที่สาธารณสุของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย มีภาระงานเพิ่มมากขึ้น ทำให้ขาดความครอบคลุมและความต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ในชุมชน จึงได้จัดโครงการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนขึ้น โดยการพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver)ผู้ดูแลและญาติ รวมทั้งภาคีเครือข่าย ให้สามารถช่วยกันดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนได้ครอบคลุมทั้ง 4 มิติ คือ ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ อีกทั้งยังเป็นการพัฒนารูปแบบกระบวนการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้านที่เกิดจากคนในชุมชนดูแลช่วยเหลือกันและไม่ทอดทั้งกันอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลสูงอายุ ญาติ เครือข่าย ให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุที่ถูกต้อง
  2. เพื่อติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้าน และติดเตียง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมฟื้นฟูความรู้ผู้ดูแล(Care Giver)
  2. 2. อบรมให้ความรู้ผู้ดูแล ญาติ และภาคีเครือข่าย
  3. 3.เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการดูแลผู้สูงอายุสามารถดูแลผู้สูงอายุได้อย่างปลอดภัยมีประสิทธิภาพ ตามหลักวิชาการ และ ผู้สูงอายุได้รับการดูแล /มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 3.เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง

วันที่ 29 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ภาคเครือข่ายสุขภาพออกเยี่ยมผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เยี่ยมผู้สูงอายุโดยภาคีเครือข่าย  บรรลุตามวัตถุประสงค์กิจกรรมโครงการ

 

20 0

2. 2. อบรมให้ความรู้ผู้ดูแล ญาติ และภาคีเครือข่าย

วันที่ 26 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลถ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมและบรรลุตามวัตถุประสงค์

 

100 0

3. 1. อบรมฟื้นฟูความรู้ผู้ดูแล(Care Giver)

วันที่ 16 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ดูแลผู้สูงอายุ  จำนวน  48  คน  ได้รับความรู้การฟื้นฟูดูแลผู้สูงอายุ  ตามวัตถุประสงค์โครงการ

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลสูงอายุ ญาติ เครือข่าย ให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุในชุมชนได้รับการดูแลสุขภาพจากบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความสามารถการดูแลผู้สูงอายุ
531.00

 

2 เพื่อติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้าน และติดเตียง
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลสูงอายุ ญาติ เครือข่าย ให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุที่ถูกต้อง (2) เพื่อติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้าน และติดเตียง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมฟื้นฟูความรู้ผู้ดูแล(Care Giver) (2) 2. อบรมให้ความรู้ผู้ดูแล ญาติ และภาคีเครือข่าย (3) 3.เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3351-02-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ร้อยตรี สุริยา นวลเต็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด