โครงการถนนสายสุขภาพผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครวบครัวพอเพียง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการถนนสายสุขภาพผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครวบครัวพอเพียง ”
ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนินราหม๊ะ หมัดอาดัม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการถนนสายสุขภาพผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครวบครัวพอเพียง
ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5275-2-3 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการถนนสายสุขภาพผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครวบครัวพอเพียง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการถนนสายสุขภาพผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครวบครัวพอเพียง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการถนนสายสุขภาพผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครวบครัวพอเพียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5275-2-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ (พ.ศ.2555-2559)ยังคงอัญเชิญปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางปฏิบัติควบคู่ไปกับการพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวมที่มีมนุษย์เป็นศูนย์กลางพัฒนาอย่างจริงจังเพื่อใช้เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้เกิดความสมดุลเป็นธรรมและยั่งยืนทุ่งสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันอันจะเป็นการเสริมสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่ประชาชนโดยถ้วนหน้าสมดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯภาวะการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของประเทศไทยทำให้การดำรงชีวิตของคนในสังคมไทยได้นำเอาสิ่งอำนวยความสะดวกในทุกๆด้านเข้ามาในชีวิตประจำวันแม้กระทั่งสิ่งอุปโภคบริโภคต่างๆล้วนอำนวยความสะดวกต่อคนไทยในสังคมทั้งสิ้น ด้วยเหตุผลข้างต้นทำให้การใช้ชีวิตของคนไทยที่ผ่านมานั้นถึงแม้จะได้รับความสะดวกสบายในเบื้องต้นแต่สิ่งที่ตามมาโดยไม่รู้ตัวคือการดำรงชีวิตประจำวันที่ฟุ่มเฟือยทำให้คนในสังคมต้องประสบกับปัญหาการดำรงชีวิตตามมาฉะนั้นสิ่งที่จะสามารถแก้ปัญหาการดำรงชีวิตของคนไทย คือการดำรงชีวิตอย่างพอเพียงตามแนวทางพระราชดำริ
เนื่องด้วยในปัจจุบันเรื่องสุขภาพของประชาชนคนไทยเพิ่มทวีขึ้นซึ่งเห็นได้จากสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆและอัตราการป่วยจากโรคที่ไม่ติดต่อเพิ่มสูงขึ้นซึ่งเป็นภาระที่รัฐบาลจะต้องเสียงบประมาณในการรักษาพยาบาลเป็นอันมากและเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุเนื่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพ ที่สำคัญมีสาเหตุมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมีหรือผัก-ผลไม้ที่ไม่ปลอดสารพิษเพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธีเพื่อเหตุผลทางการค้า ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้นตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยงแนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ต้นเหตุแบบยั่งยืนคือการให้สุขศึกษาความรู้แก่ประชาชนและการส่งเสริมการปลูกพืชผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสาอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลาได้ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการถนนสุขภาพ ผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี
ลดโรค เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐ เพื่อให้เจ้าหน้าที่บุคคลากร รพ.สต.ทุ่งตำเสาอสม.และประชาชน สร้างสุขภาพที่ถูกสุขลักษณะนิสัยและตระหนักถึงความสำคัญต้นเหตุของปัญหารวมทั้งนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของรัชกาลที่9 นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันการปลูกผักรับประทานเองแบบอินทรีย์ก็เป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดีมีประโยชน์อย่างแท้จริง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อป้องกันการเกิดโรค อันตราย จากการบริโภคพืชผักที่ปนเปื้อนจากสารเคมี
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดแนวคิดในการพึ่งพาตนเอง ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ข้างบ้าน ข้างรั้ว หลีกเลี่ยงสารเคมี และสร้างรายได้ให้กับครอบครัวเพิ่มขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
150
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เกิดการปลูกพืชผักสวนครัว พืชสมุนไพร ปลอดสารพิษ ไว้บริโภคในครัวเรือน ชุมชน หน่วยงาน
2.เกิดนวัตกรรม ถนนสายสุขภาพผักข้างบ้าน อาหารข้างครัว ครอบครัวพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี
3.ลดอัตราการเกิดโรคติดต่อได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.1 ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอรายงานผลการดำเนินงานโครงการ ตามบันทึกข้อตกลงการรับ
เงินอุดหนุนเลขที่...7..../...2560......วันที่...13......เดือน มกราคม พ.ศ. 2560 ได้เริ่มดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการเมื่อวันที่..31...เดือน มกราคม พ.ศ. 2560 และเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่..30...เดือน กันยายน พ.ศ. 2560
2.2 ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอส่งสำเนาเอกสารใบเสร็จรับเงินหรือเอกสารหลักฐานอื่น จำนวน..5 .ฉบับ จำนวนเงิน 33,600.00 บาท (เงินสามหมื่นสามพันหกร้อยบาทถ้วน) ของการดำเนินการตามโครงการที่ได้รับเงินอุดหนุนมาพร้อมหนังสือนี้ เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบต่อไป
2.3 ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอส่งเงินงบประมาณคงเหลือ (ถ้ามี) จำนวน....2,000... บาท คืนมาพร้อมหนังสือนี้
2.4 ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ
1.เพื่อป้องกันการเกิดโรค อันตราย จากการบริโภคพืชผักที่ปนเปื้อนจากสารเคมี
2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ
3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดแนวคิดในการพึ่งพาตนเอง ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษข้างบ้าน ข้างรั้ว หลีกเลี่ยงสารเคมี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อป้องกันการเกิดโรค อันตราย จากการบริโภคพืชผักที่ปนเปื้อนจากสารเคมี
ตัวชี้วัด : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90ของกลุ่มเป้าหมาย
2
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 90มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ
3
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดแนวคิดในการพึ่งพาตนเอง ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ข้างบ้าน ข้างรั้ว หลีกเลี่ยงสารเคมี และสร้างรายได้ให้กับครอบครัวเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : มีแกนนำปลูกพืชผักปลอดสารพิษบริเวณบ้าน 50 ครัวเรือนและสามารถเป็นวิทยากรได้
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
150
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการเกิดโรค อันตราย จากการบริโภคพืชผักที่ปนเปื้อนจากสารเคมี (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ (3) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดแนวคิดในการพึ่งพาตนเอง ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ข้างบ้าน ข้างรั้ว หลีกเลี่ยงสารเคมี และสร้างรายได้ให้กับครอบครัวเพิ่มขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการถนนสายสุขภาพผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครวบครัวพอเพียง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5275-2-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนินราหม๊ะ หมัดอาดัม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการถนนสายสุขภาพผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครวบครัวพอเพียง ”
ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนินราหม๊ะ หมัดอาดัม
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5275-2-3 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการถนนสายสุขภาพผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครวบครัวพอเพียง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการถนนสายสุขภาพผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครวบครัวพอเพียง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการถนนสายสุขภาพผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครวบครัวพอเพียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5275-2-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ (พ.ศ.2555-2559)ยังคงอัญเชิญปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางปฏิบัติควบคู่ไปกับการพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวมที่มีมนุษย์เป็นศูนย์กลางพัฒนาอย่างจริงจังเพื่อใช้เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้เกิดความสมดุลเป็นธรรมและยั่งยืนทุ่งสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันอันจะเป็นการเสริมสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่ประชาชนโดยถ้วนหน้าสมดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯภาวะการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของประเทศไทยทำให้การดำรงชีวิตของคนในสังคมไทยได้นำเอาสิ่งอำนวยความสะดวกในทุกๆด้านเข้ามาในชีวิตประจำวันแม้กระทั่งสิ่งอุปโภคบริโภคต่างๆล้วนอำนวยความสะดวกต่อคนไทยในสังคมทั้งสิ้น ด้วยเหตุผลข้างต้นทำให้การใช้ชีวิตของคนไทยที่ผ่านมานั้นถึงแม้จะได้รับความสะดวกสบายในเบื้องต้นแต่สิ่งที่ตามมาโดยไม่รู้ตัวคือการดำรงชีวิตประจำวันที่ฟุ่มเฟือยทำให้คนในสังคมต้องประสบกับปัญหาการดำรงชีวิตตามมาฉะนั้นสิ่งที่จะสามารถแก้ปัญหาการดำรงชีวิตของคนไทย คือการดำรงชีวิตอย่างพอเพียงตามแนวทางพระราชดำริ
เนื่องด้วยในปัจจุบันเรื่องสุขภาพของประชาชนคนไทยเพิ่มทวีขึ้นซึ่งเห็นได้จากสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆและอัตราการป่วยจากโรคที่ไม่ติดต่อเพิ่มสูงขึ้นซึ่งเป็นภาระที่รัฐบาลจะต้องเสียงบประมาณในการรักษาพยาบาลเป็นอันมากและเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุเนื่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพ ที่สำคัญมีสาเหตุมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมีหรือผัก-ผลไม้ที่ไม่ปลอดสารพิษเพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธีเพื่อเหตุผลทางการค้า ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้นตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยงแนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ต้นเหตุแบบยั่งยืนคือการให้สุขศึกษาความรู้แก่ประชาชนและการส่งเสริมการปลูกพืชผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสาอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลาได้ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการถนนสุขภาพ ผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี
ลดโรค เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐ เพื่อให้เจ้าหน้าที่บุคคลากร รพ.สต.ทุ่งตำเสาอสม.และประชาชน สร้างสุขภาพที่ถูกสุขลักษณะนิสัยและตระหนักถึงความสำคัญต้นเหตุของปัญหารวมทั้งนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของรัชกาลที่9 นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันการปลูกผักรับประทานเองแบบอินทรีย์ก็เป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดีมีประโยชน์อย่างแท้จริง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อป้องกันการเกิดโรค อันตราย จากการบริโภคพืชผักที่ปนเปื้อนจากสารเคมี
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดแนวคิดในการพึ่งพาตนเอง ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ข้างบ้าน ข้างรั้ว หลีกเลี่ยงสารเคมี และสร้างรายได้ให้กับครอบครัวเพิ่มขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 150 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เกิดการปลูกพืชผักสวนครัว พืชสมุนไพร ปลอดสารพิษ ไว้บริโภคในครัวเรือน ชุมชน หน่วยงาน
2.เกิดนวัตกรรม ถนนสายสุขภาพผักข้างบ้าน อาหารข้างครัว ครอบครัวพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี
3.ลดอัตราการเกิดโรคติดต่อได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.1 ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอรายงานผลการดำเนินงานโครงการ ตามบันทึกข้อตกลงการรับ
เงินอุดหนุนเลขที่...7..../...2560......วันที่...13......เดือน มกราคม พ.ศ. 2560 ได้เริ่มดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการเมื่อวันที่..31...เดือน มกราคม พ.ศ. 2560 และเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่..30...เดือน กันยายน พ.ศ. 2560
2.2 ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอส่งสำเนาเอกสารใบเสร็จรับเงินหรือเอกสารหลักฐานอื่น จำนวน..5 .ฉบับ จำนวนเงิน 33,600.00 บาท (เงินสามหมื่นสามพันหกร้อยบาทถ้วน) ของการดำเนินการตามโครงการที่ได้รับเงินอุดหนุนมาพร้อมหนังสือนี้ เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบต่อไป
2.3 ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอส่งเงินงบประมาณคงเหลือ (ถ้ามี) จำนวน....2,000... บาท คืนมาพร้อมหนังสือนี้
2.4 ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ
1.เพื่อป้องกันการเกิดโรค อันตราย จากการบริโภคพืชผักที่ปนเปื้อนจากสารเคมี
2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ
3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดแนวคิดในการพึ่งพาตนเอง ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษข้างบ้าน ข้างรั้ว หลีกเลี่ยงสารเคมี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อป้องกันการเกิดโรค อันตราย จากการบริโภคพืชผักที่ปนเปื้อนจากสารเคมี ตัวชี้วัด : มีผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90ของกลุ่มเป้าหมาย |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 90มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ |
|
|||
3 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดแนวคิดในการพึ่งพาตนเอง ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ข้างบ้าน ข้างรั้ว หลีกเลี่ยงสารเคมี และสร้างรายได้ให้กับครอบครัวเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด : มีแกนนำปลูกพืชผักปลอดสารพิษบริเวณบ้าน 50 ครัวเรือนและสามารถเป็นวิทยากรได้ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 150 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการเกิดโรค อันตราย จากการบริโภคพืชผักที่ปนเปื้อนจากสารเคมี (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ (3) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดแนวคิดในการพึ่งพาตนเอง ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ข้างบ้าน ข้างรั้ว หลีกเลี่ยงสารเคมี และสร้างรายได้ให้กับครอบครัวเพิ่มขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการถนนสายสุขภาพผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครวบครัวพอเพียง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5275-2-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนินราหม๊ะ หมัดอาดัม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......