โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ ประจำปีงบประมาณ 2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ ประจำปีงบประมาณ 2562 ”
ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายเด่นทยา วุ่นแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ ประจำปีงบประมาณ 2562
ที่อยู่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 62-L1487-4-1 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ ประจำปีงบประมาณ 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ ประจำปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1487-4-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 61,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นชอบให้ดำเนินงานระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ตามมาตรา 18 (9) และมาตรา 47 ได้สนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชนและภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการแสวงหากำไร ดำเนินงานและบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่บุคคลในพื้นที่ให้คณะกรรมการสนับสนุนและประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกำหนดหลักเณฑ์เพื่อให้องค์กรดังกล่าวเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์กการบริหารส่วนตำบลสุโสะ เกิดข้นตามแนวทางการดำเนินงานดังกล่าวโดยได้ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการหลักประกันแห่งชาติ เขต 12 สงขลา ได้ดำเนินการตั้งแต่ ปีงบประมาณ 2552 ซี่งในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่ ต้องดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนได้สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานปละบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื่นที่ พ.ศ. 2557 โดยแต่ละกองทุนฯ นำหลักเกณฑ์ดังกล่าวมาจัดทำเป็นระเบียบกองทุนสำหรับใช้ในการบริหารจัดการกองทุนต่อไป ทั้งนี้ นอกเหนือจากหลักเกณฑ์ดังกล่าว ปัจจัยในการบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ ยังเกิดขึ้นจากคณะบุคคลอีกหนึ่งคณะตามที่ กล่าวข้างต้น นั้นคื คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ อนุกรรมการฯ กล่าวคือการ การที่คณะกรรมการบริหารกองทุนมีความรู้มีความสามารถเข้าถึง เข้าใจหลักการบริหารจัดการกองทุน ก็จะทำให้กองทุนแห่งนั้นดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ประกอบกับ สำนักงานเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภา ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติงานให้กับคณะกรรมการบริหารกองทุน ก็ต้องมีเจ้าหน้าที่ตำเนินงานกองทุนฯ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมืเครื่องใช้ท่พร้อมในการสนับสนุนการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพไปพร้อมกัน ดังนั้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ ประจำปีงบประมาณ 2562 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ ให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของการบริหารจัดการกองทุนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการสร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลฯ
- เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 1/2562)
- อาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ประชุมคณะอนุกรรมการ
- ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 2/2562)
- ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 3/2562)
- ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 4/2562)
- ครุภัณฑ์สำนักงาน
- วัสดุคอมพิวเตอร์
- ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 5/2562)
- ค่าถ่ายเอกสาร (ระเบียบกองทุน)
- จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์ (หมึกปริ้นเตอร์)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
26
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีการประชุมกรรมการเพื่อพิจารณาและติดตามงานอย่างน้อย 4 ครั้ง เพื่อโครงการที่เสนอได้รับการพิจารณาอย่างน้อย 80 %
- มีการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานของกองทุนร่วมกับทีมพี่เลี้ยง อย่างน้อย 1 ครั้งหรือร่วมกิจกรรมของ สปสช.อย่างน้อย 1 ครั้ง
- วัสดุสำนักงานฯ สำหรับการบริหารจัดการกองทุน ฯ ถูกซื้อตามแผนงานที่วางไว้
- จัดทำแผนสุขภาพชุมชน ปี 2562
- ครุภัณฑ์สำหรับบริหารกองทุนฯ ถูกจัดซื้อตามแผนงานที่วางไว้
- ได้จ้างเหมาบริการตามงานและกิจกรรมที่วางไว้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อาหารว่างและเครื่องดื่ม
วันที่ 29 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ค่าใช้จ่ายอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 1/2562 วันที่ 29 ตุลาคม 2561
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมแผนการดำเนินโครงการในปีงบประมาณ 2562 ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 16 คน
18
0
2. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 1/2562)
วันที่ 29 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะกรรมการเพื่อว่างแผนการดำเนินงานกองทุน ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 16 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะกรรมการได้ทราบการดำเนินงานที่ผ่านมา และของปัจจุบัน
18
0
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ
วันที่ 21 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ประชุมอนุุกรรมการ เพื่อพิจารณาโครงการปีงบประมาณ 2562 ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 8 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้กลั่นกรองโครงการเพื่อให้คณะกรรมการได้พิจารณาอีกครั้งหนึ่ง
8
0
4. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 2/2562)
วันที่ 25 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
คณะกรรมการพิจารณาโครงการจากอนุกรรมการกลั่นกรอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ให้ผู้ดำเนินโครงการนำโครงการกลับไปปรับเปลี่ยนแก้ไขให้ถูกต้อง
18
0
5. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 3/2562)
วันที่ 28 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผู้ดำเนินโครงการได้ส่งโครงการ คณะกรรมการได้พิจารณาอนุมัติวงเงินได้การดำเนินโครงการแต่ละโครงการ ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 9 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้โครงการงบประมาณ 2562
18
0
6. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 4/2562)
วันที่ 30 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะกรรมการสปสชชุดใหม่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับระเบียบของปีงบประมาณ 2562 ชี้แจงการดำเนินงาน ขออนุมัติเบิกจ่ายครุภัณฑ์
10
0
7. ครุภัณฑ์สำนักงาน
วันที่ 27 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
-จัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน ตามระเบียบของหน่วยงานโดยอนุโลม
-จัดทำบัญชีวัสดุและลงทะเบียนครุภัณฑ์เป็นของ อปท. เพื่อใช้ในกิจการของกองทุนฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.กระบวนการบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพ
2. มีเครื่องอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานที่จำเป็นและเพียงพอต่อการทำงาน
0
0
8. วัสดุคอมพิวเตอร์
วันที่ 2 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์ (ชุดดรัม Canon DRUM Cartridge 029)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วัสดุเสื่อมจำเป็นต้องเปลี่ยนตัวดรัมใหม่
0
0
9. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 5/2562)
วันที่ 27 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะกรรมการ เพื่อดำเนินการติดตามโครงการแต่ละหน่วยงาน ของกองทุน ฯลฯ จำนวน 12 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะกรรมการได้ทราบการดำเนินงานที่ผ่านมาว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคในการดำเนินงานอย่างไรบ้าง
12
0
10. ค่าถ่ายเอกสาร (ระเบียบกองทุน)
วันที่ 27 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการถ่ายเอกสารให้คณะกรรมการฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คู่มือ ระเบียบดำเนินงานกองทุนฯ
0
0
11. จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์ (หมึกปริ้นเตอร์)
วันที่ 27 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการจัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์ (หมึกปริ้นเตอร์)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วัสดุคอมพิวเตอร์ในการดำเนินงาน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
-คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนฯ สามารถเตรียมความพร้อมในการทำแผนงานกิจกรรมหรือโครงการที่จะดำเนินงาน
-คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนฯ ได้อนุมัติแผนงานหรือโครงการ/กิจกรรม เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ และได้ดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่เป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
-คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนฯ ได้ดำเนินการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์กิจกรรมของกองทุนฯ
-คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนฯ เข้าใจวัตถุประสงค์ แนวทางการบริหารจัดการกองทุนฯ มากขึ้นและเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนฯ สามารถติดตามผลการดำเนินงานโครงการที่กองทุนฯ ให้การสนับสนุน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ ให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของการบริหารจัดการกองทุนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุโสะ มีการขับเคลื่อนและดำเนินการในงานต่างๆ ของกองทุน ร้อยละ 90
100.00
100.00
กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุโสะ มีการขับเคลื่อนและดำเนินการในงานต่างๆ ของกองทุน ร้อยละ 90
2
เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการสร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลฯ
ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุโสะ มีการขับเคลื่อนและดำเนินการในงานต่างๆ ของกองทุน ร้อยละ 90
100.00
100.00
กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุโสะ มีการขับเคลื่อนและดำเนินการในงานต่างๆ ของกองทุน ร้อยละ 90
3
เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุโสะ มีการขับเคลื่อนและดำเนินการในงานต่างๆ ของกองทุน ร้อยละ 90
100.00
100.00
กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุโสะ มีการขับเคลื่อนและดำเนินการในงานต่างๆ ของกองทุน ร้อยละ 90
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
26
23
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
26
23
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ ให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของการบริหารจัดการกองทุนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการสร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลฯ (3) เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 1/2562) (2) อาหารว่างและเครื่องดื่ม (3) ประชุมคณะอนุกรรมการ (4) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 2/2562) (5) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 3/2562) (6) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 4/2562) (7) ครุภัณฑ์สำนักงาน (8) วัสดุคอมพิวเตอร์ (9) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 5/2562) (10) ค่าถ่ายเอกสาร (ระเบียบกองทุน) (11) จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์ (หมึกปริ้นเตอร์)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 62-L1487-4-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายเด่นทยา วุ่นแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ ประจำปีงบประมาณ 2562 ”
ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายเด่นทยา วุ่นแก้ว
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 62-L1487-4-1 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ ประจำปีงบประมาณ 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ ประจำปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1487-4-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 61,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นชอบให้ดำเนินงานระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ตามมาตรา 18 (9) และมาตรา 47 ได้สนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชนและภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการแสวงหากำไร ดำเนินงานและบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่บุคคลในพื้นที่ให้คณะกรรมการสนับสนุนและประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกำหนดหลักเณฑ์เพื่อให้องค์กรดังกล่าวเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์กการบริหารส่วนตำบลสุโสะ เกิดข้นตามแนวทางการดำเนินงานดังกล่าวโดยได้ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการหลักประกันแห่งชาติ เขต 12 สงขลา ได้ดำเนินการตั้งแต่ ปีงบประมาณ 2552 ซี่งในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่ ต้องดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนได้สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานปละบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื่นที่ พ.ศ. 2557 โดยแต่ละกองทุนฯ นำหลักเกณฑ์ดังกล่าวมาจัดทำเป็นระเบียบกองทุนสำหรับใช้ในการบริหารจัดการกองทุนต่อไป ทั้งนี้ นอกเหนือจากหลักเกณฑ์ดังกล่าว ปัจจัยในการบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ ยังเกิดขึ้นจากคณะบุคคลอีกหนึ่งคณะตามที่ กล่าวข้างต้น นั้นคื คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ อนุกรรมการฯ กล่าวคือการ การที่คณะกรรมการบริหารกองทุนมีความรู้มีความสามารถเข้าถึง เข้าใจหลักการบริหารจัดการกองทุน ก็จะทำให้กองทุนแห่งนั้นดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ประกอบกับ สำนักงานเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภา ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติงานให้กับคณะกรรมการบริหารกองทุน ก็ต้องมีเจ้าหน้าที่ตำเนินงานกองทุนฯ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมืเครื่องใช้ท่พร้อมในการสนับสนุนการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพไปพร้อมกัน ดังนั้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ ประจำปีงบประมาณ 2562 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ ให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของการบริหารจัดการกองทุนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการสร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลฯ
- เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 1/2562)
- อาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ประชุมคณะอนุกรรมการ
- ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 2/2562)
- ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 3/2562)
- ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 4/2562)
- ครุภัณฑ์สำนักงาน
- วัสดุคอมพิวเตอร์
- ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 5/2562)
- ค่าถ่ายเอกสาร (ระเบียบกองทุน)
- จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์ (หมึกปริ้นเตอร์)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 26 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีการประชุมกรรมการเพื่อพิจารณาและติดตามงานอย่างน้อย 4 ครั้ง เพื่อโครงการที่เสนอได้รับการพิจารณาอย่างน้อย 80 %
- มีการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานของกองทุนร่วมกับทีมพี่เลี้ยง อย่างน้อย 1 ครั้งหรือร่วมกิจกรรมของ สปสช.อย่างน้อย 1 ครั้ง
- วัสดุสำนักงานฯ สำหรับการบริหารจัดการกองทุน ฯ ถูกซื้อตามแผนงานที่วางไว้
- จัดทำแผนสุขภาพชุมชน ปี 2562
- ครุภัณฑ์สำหรับบริหารกองทุนฯ ถูกจัดซื้อตามแผนงานที่วางไว้
- ได้จ้างเหมาบริการตามงานและกิจกรรมที่วางไว้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อาหารว่างและเครื่องดื่ม |
||
วันที่ 29 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำค่าใช้จ่ายอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 1/2562 วันที่ 29 ตุลาคม 2561 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมแผนการดำเนินโครงการในปีงบประมาณ 2562 ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 16 คน
|
18 | 0 |
2. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 1/2562) |
||
วันที่ 29 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำประชุมคณะกรรมการเพื่อว่างแผนการดำเนินงานกองทุน ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 16 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะกรรมการได้ทราบการดำเนินงานที่ผ่านมา และของปัจจุบัน
|
18 | 0 |
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ |
||
วันที่ 21 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำประชุมอนุุกรรมการ เพื่อพิจารณาโครงการปีงบประมาณ 2562 ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 8 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้กลั่นกรองโครงการเพื่อให้คณะกรรมการได้พิจารณาอีกครั้งหนึ่ง
|
8 | 0 |
4. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 2/2562) |
||
วันที่ 25 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำคณะกรรมการพิจารณาโครงการจากอนุกรรมการกลั่นกรอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นให้ผู้ดำเนินโครงการนำโครงการกลับไปปรับเปลี่ยนแก้ไขให้ถูกต้อง
|
18 | 0 |
5. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 3/2562) |
||
วันที่ 28 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำผู้ดำเนินโครงการได้ส่งโครงการ คณะกรรมการได้พิจารณาอนุมัติวงเงินได้การดำเนินโครงการแต่ละโครงการ ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 9 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้โครงการงบประมาณ 2562
|
18 | 0 |
6. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 4/2562) |
||
วันที่ 30 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำประชุมคณะกรรมการสปสชชุดใหม่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับระเบียบของปีงบประมาณ 2562 ชี้แจงการดำเนินงาน ขออนุมัติเบิกจ่ายครุภัณฑ์
|
10 | 0 |
7. ครุภัณฑ์สำนักงาน |
||
วันที่ 27 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ-จัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน ตามระเบียบของหน่วยงานโดยอนุโลม -จัดทำบัญชีวัสดุและลงทะเบียนครุภัณฑ์เป็นของ อปท. เพื่อใช้ในกิจการของกองทุนฯ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.กระบวนการบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพ 2. มีเครื่องอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานที่จำเป็นและเพียงพอต่อการทำงาน
|
0 | 0 |
8. วัสดุคอมพิวเตอร์ |
||
วันที่ 2 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์ (ชุดดรัม Canon DRUM Cartridge 029) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวัสดุเสื่อมจำเป็นต้องเปลี่ยนตัวดรัมใหม่
|
0 | 0 |
9. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 5/2562) |
||
วันที่ 27 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำประชุมคณะกรรมการ เพื่อดำเนินการติดตามโครงการแต่ละหน่วยงาน ของกองทุน ฯลฯ จำนวน 12 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะกรรมการได้ทราบการดำเนินงานที่ผ่านมาว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคในการดำเนินงานอย่างไรบ้าง
|
12 | 0 |
10. ค่าถ่ายเอกสาร (ระเบียบกองทุน) |
||
วันที่ 27 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำดำเนินการถ่ายเอกสารให้คณะกรรมการฯ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคู่มือ ระเบียบดำเนินงานกองทุนฯ
|
0 | 0 |
11. จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์ (หมึกปริ้นเตอร์) |
||
วันที่ 27 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำดำเนินการจัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์ (หมึกปริ้นเตอร์) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวัสดุคอมพิวเตอร์ในการดำเนินงาน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
-คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนฯ สามารถเตรียมความพร้อมในการทำแผนงานกิจกรรมหรือโครงการที่จะดำเนินงาน -คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนฯ ได้อนุมัติแผนงานหรือโครงการ/กิจกรรม เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ และได้ดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่เป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ -คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนฯ ได้ดำเนินการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์กิจกรรมของกองทุนฯ -คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนฯ เข้าใจวัตถุประสงค์ แนวทางการบริหารจัดการกองทุนฯ มากขึ้นและเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนฯ สามารถติดตามผลการดำเนินงานโครงการที่กองทุนฯ ให้การสนับสนุน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ ให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของการบริหารจัดการกองทุนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุโสะ มีการขับเคลื่อนและดำเนินการในงานต่างๆ ของกองทุน ร้อยละ 90 |
100.00 | 100.00 | กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุโสะ มีการขับเคลื่อนและดำเนินการในงานต่างๆ ของกองทุน ร้อยละ 90 |
|
2 | เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการสร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลฯ ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุโสะ มีการขับเคลื่อนและดำเนินการในงานต่างๆ ของกองทุน ร้อยละ 90 |
100.00 | 100.00 | กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุโสะ มีการขับเคลื่อนและดำเนินการในงานต่างๆ ของกองทุน ร้อยละ 90 |
|
3 | เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุโสะ มีการขับเคลื่อนและดำเนินการในงานต่างๆ ของกองทุน ร้อยละ 90 |
100.00 | 100.00 | กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุโสะ มีการขับเคลื่อนและดำเนินการในงานต่างๆ ของกองทุน ร้อยละ 90 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 26 | 23 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 26 | 23 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ ให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของการบริหารจัดการกองทุนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการสร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลฯ (3) เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 1/2562) (2) อาหารว่างและเครื่องดื่ม (3) ประชุมคณะอนุกรรมการ (4) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 2/2562) (5) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 3/2562) (6) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 4/2562) (7) ครุภัณฑ์สำนักงาน (8) วัสดุคอมพิวเตอร์ (9) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (ครั้งที่ 5/2562) (10) ค่าถ่ายเอกสาร (ระเบียบกองทุน) (11) จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์ (หมึกปริ้นเตอร์)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สุโสะ ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 62-L1487-4-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายเด่นทยา วุ่นแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......