กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา


“ โครงการเฝ้าระวังปฏิบัติการโรคไข้เลือดออก โดยทีม SRRT ตำบลบานา ”

ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายสมาน กอลำ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังปฏิบัติการโรคไข้เลือดออก โดยทีม SRRT ตำบลบานา

ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3013-01-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังปฏิบัติการโรคไข้เลือดออก โดยทีม SRRT ตำบลบานา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังปฏิบัติการโรคไข้เลือดออก โดยทีม SRRT ตำบลบานา



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อหยุดยั้งการระบาดของโรคไข้เลือดออกที่กำลังเป็นปัญหาของชุมชน (2) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2. จัดซื้อสารเคมี, เชื้อเพลิง, โลชั่น,สเปรย์ป้องกันยุง และจ้างเหมาทีม SSRTเพื่อเตรียมการรับการระบาดโรคไข้เลือดออก (2) 3. ออกประเมินการสำรวจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชนไขว้ระหว่างหมู่บ้าน, ลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วย, สอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น โดยทีมงานสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และทีมสอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น (3) 4.จัดเดินรณรงค์เกี่ยวกับการจัดการบ้านพักที่อยู่อาศัยในชุมชนให้น่าอยู่การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย การปรับปรุงสิ่งแวดล้อม และสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย (4) 1.พัฒนาศักยภาพ ทีมเฝ้าระวังเคลื่อนที่เร็ว SSRT และทีมงานย่อยต่างๆได้แก่ ทีมสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ทีมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยทีมสอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น ทีมพ่นสารเคมี และทีมปรับปรุงสิ่งแวดล้อมเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงาน มีทักษะความส

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สำคัญ เป็นปัญหาเร่วด่วนที่ต้องดำเนินการเฝ้าระวังป้องกัน สอบสวนและควบคุมโรคให้ได้โดยเร็ว เพื่อหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรคให้ทันท่วงที ซึ่งหากมีการระบาดเกิดขึ้นจะก่อให้เกิดปัญหาในวงกว้าง ส่งผลกระทบต่อสภาวะสุขภาพของประชาชน และทำให้เกิดความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจสังคมสร้างความตื่นตระหนกให้กับประชาชนเป็นอย่างมากการที่จะดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคให้ได้ผล ทันเวลา และมีประสิทธิภาพ สามารถหยุดการแพร่ระบาดได้นั้นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน รวมทั้งต้องดำเนินการตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข และต้องมีทีมปฏิบัติงานที่มีศักยภาพ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องระบาดวิทยาเป็นอย่างดี มีทักษะในการดำเนินงานป้องกันโรค การสอบสวนโรค การเฝ้าระวังและควบคุมโรค การรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ และส่งรายงานข้อมูลทางระบาดวิทยา เพื่อแจ้งเตือนเหตุผิดปกติให้กับประชาชนผู้นำชุมชนหน่วยงานองค์กรในท้องถิ่น และเครือข่ายการเฝ้าระวังโรคได้ทราบ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายจัดตั้งทีมในระดับตำบล คือทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตามสโลแกน “รู้เร็ว แจ้งเร็ว ควบคุมเร็ว” ทำหน้าที่ในการดำเนินกิจกรรมควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญในระดับตำบล ทำให้เกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันไข้เลือดออกได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อหยุดยั้งการระบาดของโรคไข้เลือดออกที่กำลังเป็นปัญหาของชุมชน
  2. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2. จัดซื้อสารเคมี, เชื้อเพลิง, โลชั่น,สเปรย์ป้องกันยุง และจ้างเหมาทีม SSRTเพื่อเตรียมการรับการระบาดโรคไข้เลือดออก
  2. 3. ออกประเมินการสำรวจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชนไขว้ระหว่างหมู่บ้าน, ลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วย, สอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น โดยทีมงานสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และทีมสอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น
  3. 4.จัดเดินรณรงค์เกี่ยวกับการจัดการบ้านพักที่อยู่อาศัยในชุมชนให้น่าอยู่การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย การปรับปรุงสิ่งแวดล้อม และสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย
  4. 1.พัฒนาศักยภาพ ทีมเฝ้าระวังเคลื่อนที่เร็ว SSRT และทีมงานย่อยต่างๆได้แก่ ทีมสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ทีมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยทีมสอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น ทีมพ่นสารเคมี และทีมปรับปรุงสิ่งแวดล้อมเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงาน มีทักษะความส

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ครัวเรือนที่มีการระบาดจากโรคไข้เลือดออกได้รับการเยี่ยมบ้าน สอบสวนโรคเบื้องต้น และดำเนินการพ่นหมอกควันทุกราย 2.ทุกครัวเรือนได้รับการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย, ปรับปรุงสภาพแวดล้อมและไม่มีลูกน้ำยุงลาย 3.ประชาชนในพื้นที่ไม่เป็นโรคไข้เลือดออก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2. จัดซื้อสารเคมี, เชื้อเพลิง, โลชั่น,สเปรย์ป้องกันยุง และจ้างเหมาทีม SSRTเพื่อเตรียมการรับการระบาดโรคไข้เลือดออก

วันที่ 1 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

60 0

2. 3. ออกประเมินการสำรวจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชนไขว้ระหว่างหมู่บ้าน, ลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วย, สอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น โดยทีมงานสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และทีมสอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น

วันที่ 1 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

88 0

3. 4.จัดเดินรณรงค์เกี่ยวกับการจัดการบ้านพักที่อยู่อาศัยในชุมชนให้น่าอยู่การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย การปรับปรุงสิ่งแวดล้อม และสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย

วันที่ 1 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

22 0

4. 1.พัฒนาศักยภาพ ทีมเฝ้าระวังเคลื่อนที่เร็ว SSRT และทีมงานย่อยต่างๆได้แก่ ทีมสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ทีมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยทีมสอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น ทีมพ่นสารเคมี และทีมปรับปรุงสิ่งแวดล้อมเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงาน มีทักษะความส

วันที่ 23 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

61 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน
      1.ครัวเรือนที่มีการระบาดจากโรคไข้เลือดออกได้รับการเยี่ยมบ้าน สอบสวนโรคเบื้องต้น ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย และดำเนินการพ่นหมอกควันทุกราย   2.ทุกครัวเรือนได้รับการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย, ปรับปรุงสภาพแวดล้อมและลดปริมาณจำนวนลูกน้ำยุงลาย     3.ประชาชนในพื้นที่มีจำนวนผู้เป็นโรคไข้เลือดออกในปริมาณที่ลดลง       4.มีการกำหนดแนวทางการดำเนินงานโดยการจัดระบบทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตำบลบานาที่มีชื่อว่า MODEL BANA 3-3-3-1 “ปฏิบัติการไข้เลือดออกบานา 3-3-3-1” เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุม และสอบสวนโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข         ระบบการจัดทีมปฏิบัติงานย่อยต่างๆในกรณีมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ประกอบด้วย 3 ทีม ดังนี้         ทีมที่ 1 คือทีมสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย             ได้แก่ ประธานอสม.หมู่บ้าน, อสม.เขตรับผิดชอบบ้านหลังนั้นๆ ทำหน้าที่

- เยี่ยมบ้านผู้ป่วยทันทีภายใน 3 ชม.หลังได้รับแจ้งจากจนท.รพ.สต. - พ่นสารเคมีกำจัดยุงลายตัวแก่แบบสเปรย์ที่บ้านผู้ป่วย เพื่อ Knock Down ยุงที่อาจจะมีเชื้อไข้เลือดออก - สำรวจลูกน้ำ และบันทึกจำนวนภาชนะที่พบลูกน้ำต่อภาชนะที่สำรวจทั้งหมด - ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายภายในบ้าน และรอบๆบ้านผู้ป่วย แจก/ใส่ทรายอะเบทในภาชนะน้ำใช้ แจกโลชันทากันยุง รัศมี 100 เมตร - รายงานผลการปฏิบัติงานกลับมาที่ รพ.สต.ตามแบบรายงาน อสม.         ทีมที่ 2 คือทีมสอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น             ได้แก่ จนท.สาธารณสุขผู้รับผิดชอบงานระบาดของรพ.สต., จนท.สาธารณสุขผู้รับผิดชอบหมู่บ้านนั้นๆ,ประธานอสม.หมู่บ้าน และอสม.เขตรับผิดชอบบ้านหลังนั้นๆ ทำหน้าที่ - เยี่ยมบ้านผู้ป่วยทันทีภายใน 1 วันหลังจากได้รับแจ้งจากทีม SRRT ระดับอำเภอ - ทำการสอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น ให้สุขศึกษา และรายงานอำเภอทราบ - นัดแนะเวลา พร้อมการเตรียมพื้นที่ทั้งในและนอกบ้าน เพื่อจะพ่นหมอกควันได้อย่างเหมาะสม           ทีมที่ 3 คือทีม ทีมพ่นสารเคมี/ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม               ได้แก่นักพ่นหมอกควันประจำตำบล/หมู่บ้าน(ที่ผ่านการอบรมแล้ว), จนท.สาธารณสุขผู้รับผิดชอบงานระบาดของรพ.สต., ประธานอสม.หมู่บ้าน และอสม.เขตรับผิดชอบบ้านหลังนั้นๆ ทำหน้าที่ - เตรียมอุปกรณ์การพ่นหมอกควันให้ครบถ้วน - ทำการพ่นหมอกควันอย่างเหมาะสมในรัศมี 100 เมตรจากบ้านผู้ป่วย พร้อมให้รณรงค์ทั้งหมู่บ้าน - ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายรอบๆบ้านผู้ป่วย และละแวกรัศมี 100 เมตร

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อหยุดยั้งการระบาดของโรคไข้เลือดออกที่กำลังเป็นปัญหาของชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.บ้านเรือนหรือจุดพื้นที่ซึ่งมีการระบาดของไข้เลือดออกได้รับการพ่นสารเคมีกำจัดยุงลาย ร้อยละ 100 ของพื้นที่ซึ่งมีการระบาด 2.ทีมเผชิญโรคระบาดเคลื่อนที่เร็ว (SSRT) ของชุมชนเพื่อสอบสวนโรคร้อยละ 100 ของคนป่วยไข้เลือดออก
0.00 100.00

 

2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน (Container Index=0) และบริเวณบ้าน (House Index=0) 2.ประชาชนในชุมชนเกิดความตระหนักและตื่นตัวในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย
0.00 9.90

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110 110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อหยุดยั้งการระบาดของโรคไข้เลือดออกที่กำลังเป็นปัญหาของชุมชน (2) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2. จัดซื้อสารเคมี, เชื้อเพลิง, โลชั่น,สเปรย์ป้องกันยุง และจ้างเหมาทีม SSRTเพื่อเตรียมการรับการระบาดโรคไข้เลือดออก (2) 3. ออกประเมินการสำรวจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชนไขว้ระหว่างหมู่บ้าน, ลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วย, สอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น โดยทีมงานสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และทีมสอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น (3) 4.จัดเดินรณรงค์เกี่ยวกับการจัดการบ้านพักที่อยู่อาศัยในชุมชนให้น่าอยู่การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย การปรับปรุงสิ่งแวดล้อม และสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย (4) 1.พัฒนาศักยภาพ ทีมเฝ้าระวังเคลื่อนที่เร็ว SSRT และทีมงานย่อยต่างๆได้แก่ ทีมสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ทีมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยทีมสอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น ทีมพ่นสารเคมี และทีมปรับปรุงสิ่งแวดล้อมเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงาน มีทักษะความส

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังปฏิบัติการโรคไข้เลือดออก โดยทีม SRRT ตำบลบานา

รหัสโครงการ 62-L3013-01-12 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

เกิดทีมงาน แบ่งงานที่ชัดเจน

รายงานการประชุม

สร้างความเข้มแข็ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

ปฏิบัติงานแบบไขว้ระหว่างเครือข่ายอสม.

แผนงาน/ผลการปฏิบัติงาน/ภาพถ่าย

ร่วมสอบสวนกับเจ้าหน้าที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

มีการสำรวจลูกน้ำแบบเชิงรุก

แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย

สร้างแบบบันทึกออนไลน์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดกลุ่มทีมปฏิบัติงานย่อยเฝ้าระวัง3ทีม

มีรายงานการประชุม/คำสั่ง

การปฏิบัติงานที่เข้มแข็ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

การจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านตนเอง

ภาพถ่าย

ประกวดบ้านสะอาด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

เริมมีการจัดการขยะที่ปลายทางได้ถูกต้อง

รายงานปริมาณขยะของอปท.

นำขยะไปรีไซเคิล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

นอนกางมุ้ง ทายากันยุง

การประเมินของอสม.

ผลิตสมุนไพรเป็นยาทากันยุง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

มีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ขยะ บึง คลอง

ภาพถ่าย

มีการจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น บึงโดยการถมดิน ล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

แบ่งทีมปฏิบัติงานย่อย 3 ทีม อย่างชัดเจน

รายงานการประชุม

ฟื้นฟู/พัฒนาทีมให้เข้มแข็ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

ทีมอสม./ละแวกบ้าน

คำสั่งแบ่งเขตละแวกรับผิดชอบ

สร้างแรงจูงใจ/แลกเปลี่ยนเรียนรู้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเฝ้าระวังปฏิบัติการโรคไข้เลือดออก โดยทีม SRRT ตำบลบานา จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3013-01-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมาน กอลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด