กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังขนาย


“ “รักให้เป็น” หยุดท้องก่อนวัยอันควร ในสถานศึกษา ”

วิทยาลัยการอาชีพจังหวัดกาญจนบุรี ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพจังหวัดกาญจนบุรี

ชื่อโครงการ “รักให้เป็น” หยุดท้องก่อนวัยอันควร ในสถานศึกษา

ที่อยู่ วิทยาลัยการอาชีพจังหวัดกาญจนบุรี ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัด กาญจนบุรี

รหัสโครงการ ประเภทที่ 2/009 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 กรกฎาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"“รักให้เป็น” หยุดท้องก่อนวัยอันควร ในสถานศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน วิทยาลัยการอาชีพจังหวัดกาญจนบุรี ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังขนาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
“รักให้เป็น” หยุดท้องก่อนวัยอันควร ในสถานศึกษา



บทคัดย่อ

โครงการ " “รักให้เป็น” หยุดท้องก่อนวัยอันควร ในสถานศึกษา " ดำเนินการในพื้นที่ วิทยาลัยการอาชีพจังหวัดกาญจนบุรี ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี รหัสโครงการ ประเภทที่ 2/009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 กรกฎาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังขนาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ป้องกันได้ แต่วัยรุ่นจำนวนมากยังเข้าไม่ถึงข้อมูลและบริการด้านเพศทำให้วัยรุ่นขาดความรู้และทักษะการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง ไม่ได้รับการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาอย่างต่อเนื่อง ขาดความเข้าใจเรื่องการคุมกำเนิดอย่างถูกวิธี ไม่สามารถควบคุมอารมณ์หรือตนเองเมื่ออยู่กับเพศตรงข้าม ถูกกระตุ้นอารมณ์เพศจากสื่อทางลบ และใช้สารเสพติด รวมทั้งการเข้าไม่ถึงบริการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพ สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยเสริมต่อพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่นที่สถานการณ์และแนวโน้มขณะนี้น่าเป็นห่วง กล่าวคือ อายุเฉลี่ยของการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกของวัยรุ่นลดลงจาก ๑๘-๑๙ ปี เป็นประมาณ ๑๕ - ๑๖ ปี และข้อมูลจากการขึ้นทะเบียนเด็กแรกเกิด ประจำปี 2560 (รพสต.บ้านศาลเจ้าโพลงไม้ : 2560) ผลกระทบประการสำคัญที่เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น นอกจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ คือ การตั้งครรภ์ ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นจึงเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องได้รับการป้องกันและแก้ไข โดยทุกภาคส่วน ที่ต้องอาศัยความร่วมมืออย่างจริงจัง เป็นไปตามนโยบายและยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๗) ที่เน้นการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ดีในกลุ่มประชากรวัยรุ่นและเยาวชนก่อน ซึ่งจะส่งผลต่อการลดการตั้งครรภ์ การติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ในประชากรวัยนี้ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องเร่งการดำเนินงานแบบบูรณาการในบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา ดังนั้น วิทยาลัยการอาชีพจังหวัดกาญจนบุรี ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการเสริมสร้างเด็กรุ่นใหม่ให้เข้มแข็ง และมีคุณภาพ มีทักษะชีวิต ตามเจตคติที่เหมาะสมเรื่องการสร้างครอบครัว จึงจัดทำโครงการ
“รักให้เป็น” หยุดท้องก่อนวัยอันควร ในสถานศึกษา ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้/สร้างแกนนำแก่นักเรียนนักศึกษาในสถานศึกษาอาชีวศึกษา
  2. จัดนิทรรศการให้ความรู้การป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมให้กับเด็ก เยาวชน และกิจกรรมอื่นๆ เช่น เล่นเกม/ตอบคำถามชิงรางวัล ฯลฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

(1) นักเรียนนักศึกษาในสถานศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม (2) เด็ก เยาวชน นักเรียนนักศึกษา ผู้ปกครอง และครอบครัวในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันปัญหาเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ไม่พร้อม (3) เยาวชนที่ผ่านการอบรมมีทักษะขบวนการคิดในการปฏิเสธ (4) นักเรียนนักศึกษาไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้/สร้างแกนนำแก่นักเรียนนักศึกษาในสถานศึกษาอาชีวศึกษา

วันที่ 3 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้/สร้างแกนนำแก่นักเรียนนักศึกษาในสถานศึกษาอาชีวศึกษา จำนวน 1 วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

(1) นักเรียนนักศึกษาในสถานศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม (2) เด็ก เยาวชน นักเรียนนักศึกษา ผู้ปกครอง และครอบครัวในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันปัญหาเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ไม่พร้อม (3) เยาวชนที่ผ่านการอบรมมีทักษะขบวนการคิดในการปฏิเสธ (4) นักเรียนนักศึกษาไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

 

100 0

2. จัดนิทรรศการให้ความรู้การป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมให้กับเด็ก เยาวชน และกิจกรรมอื่นๆ เช่น เล่นเกม/ตอบคำถามชิงรางวัล ฯลฯ

วันที่ 3 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดนิทรรศการให้ความรู้การป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมให้กับเด็ก เยาวชน  และกิจกรรมอื่นๆ เช่น เล่นเกม/ตอบคำถามชิงรางวัล ฯลฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน นักศึกษา มีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้นในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์
30.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้/สร้างแกนนำแก่นักเรียนนักศึกษาในสถานศึกษาอาชีวศึกษา (2) จัดนิทรรศการให้ความรู้การป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมให้กับเด็ก เยาวชน  และกิจกรรมอื่นๆ เช่น เล่นเกม/ตอบคำถามชิงรางวัล ฯลฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


“รักให้เป็น” หยุดท้องก่อนวัยอันควร ในสถานศึกษา จังหวัด กาญจนบุรี

รหัสโครงการ ประเภทที่ 2/009

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพจังหวัดกาญจนบุรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด