โครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ Care Giver เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ Care Giver เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายไกรสรโตทับเที่ยง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ Care Giver เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560
ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2560-L6896-1-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ Care Giver เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ Care Giver เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ Care Giver เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2560-L6896-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยพบการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากรในปี ๒๕๕๗ มีผู้สูงอายุ ๔ ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ ๖.๘ ของประชากรทั้งหมด) ในปี ๒๕๕๗ เพิ่มเป็น ๑๐ ล้านคน(ร้อยละ ๑๔.๙) และคาดว่าในอีก๒๕ ปีข้างหน้า จะเพิ่มเป็น ๒๐.๕ ล้านคน (ร้อยละ ๓๒.๑) และมีอัตราส่วนวัยแรงงานต่อผู้สูงอายุลดลงจาก ๖:๑ ในปี ๒๕๕๓ จะเหลือวัยแรงงาน ๒ คน ต่อผู้สูงอายุ ๑ คน ในปี ๒๕๕๓ ซึ่งจะส่งผลกระทบในวงกว้าง ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการให้บริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งจะมีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคและปัญหาสุขภาพ ได้ถึงร้อยละ ๙๕ ของผู้สูงอายุทั้งหมด ในขณะที่มีผู้สูงอายุเพียงร้อยละ ๕๗ ที่เข้าถึงระบบบริการดูแลสุขภาพได้ และร้อยละ ๖๒ ของผู้สูงอายุทั้งหมดมีปัญหาด้านสายตาและการมองเห็นซึ่งร้อยละ ๔๔ ของผู้มีปัญหาสายตาและการมองเห็น จำเป็นต้องใช้แว่นตา แต่ยังไม่มีแว่นสายตาใช้ ทั้งนี้กระทรวงสาธารณสุข ได้คัดกรองเพื่อจำแนกกลุ่มผู้สูงอายุตามภาวะพึ่งพิงและประเมินความจำเป็นด้านการสนับสนุนบริการ และจัดบริการด้านสุขภาพและสังคม จำนวน ๖,๓๙๔,๐๒๒ ราย จำแนกเป็นกลุ่มติดสังคมประมาณ ๕ ล้านคน และกลุ่มติดบ้านติดเตียง ประมาณ ๑.๓ ล้านคน ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องจากทีมหมอครอบครัว
ดังนั้น รัฐบาลจึงตระหนักและให้ความสำคัญกับการเตรียมความพร้อมรับมือและวางแนวทางเมื่อประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุแล้ว กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทุกกลุ่มศักยภาพ นโยบายสำคัญคือ การทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่แข็งแรง ชะลอการเกิดโรคและความเจ็บป่วยจนต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิง และวางระบบการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงให้ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ แลมีคุณภาพชีวิตที่ดี การจัดการ การดูแลผู้สูงอายุระยะยาวจึงเป็นเรื่องสำคัญ กระทรวงสาธารณสุขร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล(long term Care) “รวมพลังขับเคลื่อนสังคมผู้สูงวัย เข้าใจ เข้าถึง พึ่งได้” จัดระบบการดูแลที่มีประสิทธิภาพ ยั่งยืน
ในเขตเทศบาลนครตรัง มีทั้งสิ้น ๒๗ ชุมชน มีผู้สูงอายุทั้งสิ้น๓,๔๖๑ คนจากการสำรวจ ณ ตุลาคม ๒๕๕๙ มีผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง แยกตามรายกลุ่ม ได้ดังนี้
กลุ่มพึ่งพิง ทั้งสิ้น๑๐๖คน
กลุ่ม ๑ ๕๖คน
กลุ่ม ๒ ๒๒คน
กลุ่ม ๓ ๑๘คน
กลุ่ม ๔๑๐คน
โรงพยาบาลตรัง และเขตเทศบาลนครตรัง เป็นพื้นที่เป้าหมายในการดำเนินการตามโครงการพัฒนาระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล(Long Term Care) “รวมพลังขับเคลื่อนสังคมผู้สูงวัย เข้าใจ เข้าถึง พึ่งได้” จึงได้จัดทำโครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่(Care Giver) เขตเทศบาลนครตรัง ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ (Care Giver) ให้มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะ ความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ
- เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ให้เหมาะสมตามบริบท ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
45
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่(Care Giver) เข้ารับการอบรมฯ ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
- อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่(Care Giver) ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะ ความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ สามารถพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ให้เหมาะสมตามบริบท ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ได้มีการติดตามผลการดำเนินงานร่วมกัน จำนวน 3 ครั้ง วันที่ 6 มีนาคม 2560 7 มิถุนายน 2560 และ 20 กรกฎาคม 2560
วันที่ 6 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการติดตามผลการดำเนินงานร่วมกัน จำนวน 3 ครั้ง วันที่ 6 มีนาคม 2560 7 มิถุนายน 2560 และ 20 กรกฎาคม 2560
45
45
2. จัดอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพ 1 วัน
วันที่ 4 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ดำเนินการอบรมฟื้นฟูศักยภาพ Care Giver 1 วัน
47
47
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ได้ดำเนินการอบรมฟื้นฟูศักยภาพ Care Giver 1 วัน เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2560 มีผู้เข้าร่วมอบรมทั้งสิ้น 47 คน
2. ได้มีการติดตามผลการดำเนินงานร่วมกัน จำนวน 3 ครั้ง ในวันที่ 6 มีนาคม 2560 7 มิถุนายน 2560 และ 20 กรกฎาคม 2560
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ (Care Giver) ให้มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะ ความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : Care Giver มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะ ความมั่นใจ ในการดูแลผู้สูงอายุ
2
เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ให้เหมาะสมตามบริบท ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ให้เหมาะสมตามบริบท
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
45
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
45
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ (Care Giver) ให้มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะ ความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ (2) เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ให้เหมาะสมตามบริบท ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ Care Giver เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2560-L6896-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายไกรสรโตทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ Care Giver เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายไกรสรโตทับเที่ยง
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2560-L6896-1-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ Care Giver เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ Care Giver เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ Care Giver เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2560-L6896-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยพบการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากรในปี ๒๕๕๗ มีผู้สูงอายุ ๔ ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ ๖.๘ ของประชากรทั้งหมด) ในปี ๒๕๕๗ เพิ่มเป็น ๑๐ ล้านคน(ร้อยละ ๑๔.๙) และคาดว่าในอีก๒๕ ปีข้างหน้า จะเพิ่มเป็น ๒๐.๕ ล้านคน (ร้อยละ ๓๒.๑) และมีอัตราส่วนวัยแรงงานต่อผู้สูงอายุลดลงจาก ๖:๑ ในปี ๒๕๕๓ จะเหลือวัยแรงงาน ๒ คน ต่อผู้สูงอายุ ๑ คน ในปี ๒๕๕๓ ซึ่งจะส่งผลกระทบในวงกว้าง ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการให้บริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งจะมีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคและปัญหาสุขภาพ ได้ถึงร้อยละ ๙๕ ของผู้สูงอายุทั้งหมด ในขณะที่มีผู้สูงอายุเพียงร้อยละ ๕๗ ที่เข้าถึงระบบบริการดูแลสุขภาพได้ และร้อยละ ๖๒ ของผู้สูงอายุทั้งหมดมีปัญหาด้านสายตาและการมองเห็นซึ่งร้อยละ ๔๔ ของผู้มีปัญหาสายตาและการมองเห็น จำเป็นต้องใช้แว่นตา แต่ยังไม่มีแว่นสายตาใช้ ทั้งนี้กระทรวงสาธารณสุข ได้คัดกรองเพื่อจำแนกกลุ่มผู้สูงอายุตามภาวะพึ่งพิงและประเมินความจำเป็นด้านการสนับสนุนบริการ และจัดบริการด้านสุขภาพและสังคม จำนวน ๖,๓๙๔,๐๒๒ ราย จำแนกเป็นกลุ่มติดสังคมประมาณ ๕ ล้านคน และกลุ่มติดบ้านติดเตียง ประมาณ ๑.๓ ล้านคน ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องจากทีมหมอครอบครัว
ดังนั้น รัฐบาลจึงตระหนักและให้ความสำคัญกับการเตรียมความพร้อมรับมือและวางแนวทางเมื่อประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุแล้ว กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทุกกลุ่มศักยภาพ นโยบายสำคัญคือ การทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่แข็งแรง ชะลอการเกิดโรคและความเจ็บป่วยจนต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิง และวางระบบการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงให้ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ แลมีคุณภาพชีวิตที่ดี การจัดการ การดูแลผู้สูงอายุระยะยาวจึงเป็นเรื่องสำคัญ กระทรวงสาธารณสุขร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล(long term Care) “รวมพลังขับเคลื่อนสังคมผู้สูงวัย เข้าใจ เข้าถึง พึ่งได้” จัดระบบการดูแลที่มีประสิทธิภาพ ยั่งยืน
ในเขตเทศบาลนครตรัง มีทั้งสิ้น ๒๗ ชุมชน มีผู้สูงอายุทั้งสิ้น๓,๔๖๑ คนจากการสำรวจ ณ ตุลาคม ๒๕๕๙ มีผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง แยกตามรายกลุ่ม ได้ดังนี้
กลุ่มพึ่งพิง ทั้งสิ้น๑๐๖คน
กลุ่ม ๑ ๕๖คน
กลุ่ม ๒ ๒๒คน
กลุ่ม ๓ ๑๘คน
กลุ่ม ๔๑๐คน
โรงพยาบาลตรัง และเขตเทศบาลนครตรัง เป็นพื้นที่เป้าหมายในการดำเนินการตามโครงการพัฒนาระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล(Long Term Care) “รวมพลังขับเคลื่อนสังคมผู้สูงวัย เข้าใจ เข้าถึง พึ่งได้” จึงได้จัดทำโครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่(Care Giver) เขตเทศบาลนครตรัง ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ (Care Giver) ให้มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะ ความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ
- เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ให้เหมาะสมตามบริบท ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 45 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่(Care Giver) เข้ารับการอบรมฯ ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
- อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่(Care Giver) ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะ ความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ สามารถพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ให้เหมาะสมตามบริบท ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ได้มีการติดตามผลการดำเนินงานร่วมกัน จำนวน 3 ครั้ง วันที่ 6 มีนาคม 2560 7 มิถุนายน 2560 และ 20 กรกฎาคม 2560 |
||
วันที่ 6 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการติดตามผลการดำเนินงานร่วมกัน จำนวน 3 ครั้ง วันที่ 6 มีนาคม 2560 7 มิถุนายน 2560 และ 20 กรกฎาคม 2560
|
45 | 45 |
2. จัดอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพ 1 วัน |
||
วันที่ 4 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นดำเนินการอบรมฟื้นฟูศักยภาพ Care Giver 1 วัน
|
47 | 47 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ได้ดำเนินการอบรมฟื้นฟูศักยภาพ Care Giver 1 วัน เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2560 มีผู้เข้าร่วมอบรมทั้งสิ้น 47 คน 2. ได้มีการติดตามผลการดำเนินงานร่วมกัน จำนวน 3 ครั้ง ในวันที่ 6 มีนาคม 2560 7 มิถุนายน 2560 และ 20 กรกฎาคม 2560
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ (Care Giver) ให้มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะ ความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : Care Giver มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะ ความมั่นใจ ในการดูแลผู้สูงอายุ |
|
|||
2 | เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ให้เหมาะสมตามบริบท ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน ตัวชี้วัด : ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ให้เหมาะสมตามบริบท |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 45 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 45 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ (Care Giver) ให้มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะ ความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ (2) เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ให้เหมาะสมตามบริบท ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ Care Giver เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2560-L6896-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายไกรสรโตทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......