กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการจัดการขยะในโรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามูลนิธิ จังหวัดยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมูนีเร๊าะ เจ๊ะปอ ชมรมสิ่งแวดล้อมโรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามูลนิธิ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการจัดการขยะในโรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามูลนิธิ จังหวัดยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 29 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการจัดการขยะในโรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามูลนิธิ จังหวัดยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการจัดการขยะในโรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามูลนิธิ จังหวัดยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการจัดการขยะในโรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามูลนิธิ จังหวัดยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 29 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,350.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการดำเนินโครงการโรงเรียนปลอดมลพิษส่งเสริมสุขภาพดีในปี2561นั้นมีผู้เข้าอบรมทั้งหมดจำนวน 400 คน คิดเป็นร้อยละ 100ผลจากการทดสอบความรู้ที่ได้รับหลังการอบรมคิดเป็นร้อยละ 93.66ซึ่งทั้ง 3ตัวชี้วัดคือ ตัวชี้วัดเชิงปริมาณและตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ตามลำดับ ส่วนตัวชี้วัดเชิงคุณภาพที่ยังไม่ผ่าน คือ ขยะในโรงเรียนลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
โรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามูลนิธิ มีนักเรียนทั้งหมด 1,240 คนและบุคลากรจำนวน 130 คน พบว่าโรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามูลนิธิ ยะลามีปริมาณขยะ มูลฝอยที่ลดลงจากเดิม113กก. /วันเหลือ 79.1กิโลกรัม/วันคิดเป็นอัตราขยะที่ลดลงร้อยละ 30 (ไม่ผ่านตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ) และคิดเป็นอัตราการเกิดขยะ0.06 กิโลกรัม/ คน /วันซึ่งต้องเสียค่าธรรมเนียมเก็บและขนขยะเดือนละ 3,000 บาท สาเหตุที่ขยะลดลงแค่เพียงร้อยละ 20 นั้น เนื่องจากนักเรียนและบุคลากรบางส่วนยังติดนิสัยมักง่ายและขาดจิตสำนึกซึ่งจะเห็นได้จากการทิ้งขยะลงตามพื้น โดยไม่ทิ้งลงในถังรองรับที่จัดไว้ให้ หรือแม้กระทั่งการซื้อของใช้สิ่งของของนักเรียนเช่น ขนม กระดาษ แก้วน้ำ ขวดน้ำ โดยใส่ถุงพลาสติกหลายๆถุงนักเรียนและบุคลากรเหล่านั้นมองข้ามถังขยะไม่ยอมทิ้งลงถัง มีแต่ความมักง่ายที่ชอบซุกขยะไว้บริเวณรอบๆตนเอง เช่น โต๊ะหินอ่อน โต๊ะนักเรียน บนพื้น หรือแม้แต่ต้นไม้ที่เป็นซอกเป็นรูยังสามารถสอดเข้าไป ทำให้ขยะยังคงลดลงได้ไม่มากทางโรงเรียนจึงมีการออกมาตรการโดยการเดินตรวจชั้นเรียนของผู้บริหาร หากพบขยะในชั้นเรียนใดแล้ว ชั้นเรียนดังกล่าวต้องมาเสียค่าปรับ ณ ห้องธุรการโรงเรียนทำให้ขยะลดลงเหลือ 80 กก. /วัน การดำเนินโครงการในปีที่ผ่านมาทำให้ทราบถึงช่องโหว่ที่ต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจําวันสร้างจิตสำนึกในการลดปริมาณขยะจะทำให้สามารถลดค่าใช้จ่ายในการจัดการขยะตั้งแต่การเก็บรวบรวม ขนส่ง การคัดแยกและใช้ประโยชน์ ตลอดจนการกําจัดขั้นสุดท้าย ลดปัญหาสภาวะสิ่งแวดล้อม และส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เป็นระบบ รวมทั้งการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนทางชมรมสิ่งแวดล้อม ของโรงเรียนฯ จึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนปลอดมลพิษพิชิตสุขภาพดีขึ้นในครั้งนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อปลูกจิตสำนึกและให้ความรู้กับนักเรียนในเรื่องขยะมีประโยชน์
  2. 2. เพื่อให้ความรู้เรื่องการกำจัดขยะอย่างถูกวิธีและลดปริมาณขยะ
  3. 3. เพื่อให้นักเรียนรับรู้ และตระหนักถึงปัญหาเรื่องผลกระทบจากขยะต่อสิ่งแวดล้อม
  4. 4. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เรื่องแนวทางให้การปฏิบัติตนเพื่อแก้ไขปัญหาเรื่องขยะได้
  5. 5. เพื่อควบคุมไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่1 จัดประชุมเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องร่วมกับคณะอาจารย์ เพื่อชี้แจงการจัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการจัดการขยะในโรงเรียน จำนวน 30 คน ระยะเวลาครึ่งวัน
  2. กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจำนวน 30 คน ร่วมกับผู้เข้าอบรม กลุ่มที่ 1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 200 คน ระยะเวลา ครึ่งวัน เช้า กลุ่มที่ 2 นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 200 คน ระยะเวลา ครึ่งวัน บ่าย รวมทั้งสิ้น 43

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 430
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพเป็นบุคคลที่มีจิตสำนึกดีและสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดสู่ชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู่ได้
  2. นักเรียนสามารถหารายได้เสริมจากการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ได้
  3. นักเรียนสามารถจำแนกขยะได้ถูกต้อง
  4. ลดปริมาณขยะในโรงเรียน
  5. ปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อปลูกจิตสำนึกและให้ความรู้กับนักเรียนในเรื่องขยะมีประโยชน์
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ100
100.00 100.00

 

2 2. เพื่อให้ความรู้เรื่องการกำจัดขยะอย่างถูกวิธีและลดปริมาณขยะ
ตัวชี้วัด : 2. ผลการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการกำจัดขยะร้อยละ 80 3. ปริมาณขยะในโรงเรียนลดลงจากเดิมไม่น้อยกว่าร้อยละ 30
30.00 12.30

 

3 3. เพื่อให้นักเรียนรับรู้ และตระหนักถึงปัญหาเรื่องผลกระทบจากขยะต่อสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : 4. ผลการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการอบรมมีจิตสำนึกตระหนักถึงปัญหาเรื่องผลกระทบทางขยะและประโยชน์จากขยะเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00 83.10

 

4 4. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เรื่องแนวทางให้การปฏิบัติตนเพื่อแก้ไขปัญหาเรื่องขยะได้
ตัวชี้วัด : 5. ร้อยละของผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00 94.00

 

5 5. เพื่อควบคุมไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : 6. สำรวจแหล่งน้ำในโรงเรียนไม่พบแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 430 430
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 430 430
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อปลูกจิตสำนึกและให้ความรู้กับนักเรียนในเรื่องขยะมีประโยชน์ (2) 2. เพื่อให้ความรู้เรื่องการกำจัดขยะอย่างถูกวิธีและลดปริมาณขยะ (3) 3. เพื่อให้นักเรียนรับรู้ และตระหนักถึงปัญหาเรื่องผลกระทบจากขยะต่อสิ่งแวดล้อม (4) 4. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เรื่องแนวทางให้การปฏิบัติตนเพื่อแก้ไขปัญหาเรื่องขยะได้ (5) 5. เพื่อควบคุมไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1 จัดประชุมเจ้าหน้าที่  ที่เกี่ยวข้องร่วมกับคณะอาจารย์ เพื่อชี้แจงการจัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการจัดการขยะในโรงเรียน จำนวน 30 คน ระยะเวลาครึ่งวัน (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจำนวน 30 คน ร่วมกับผู้เข้าอบรม    กลุ่มที่ 1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 200 คน ระยะเวลา ครึ่งวัน เช้า    กลุ่มที่ 2 นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 200 คน ระยะเวลา ครึ่งวัน บ่าย รวมทั้งสิ้น 43

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการจัดการขยะในโรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามูลนิธิ จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 29

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมูนีเร๊าะ เจ๊ะปอ ชมรมสิ่งแวดล้อมโรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามูลนิธิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด