โครงการควบคุมและป้องกันโรคระบาดในพื้นที่ อบต.กายูบอเกาะ(โรคหัด)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคระบาดในพื้นที่ อบต.กายูบอเกาะ(โรคหัด) ”
ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายดำรงค์ นะยะอิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ
พฤศจิกายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคระบาดในพื้นที่ อบต.กายูบอเกาะ(โรคหัด)
ที่อยู่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4153-05-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 พฤศจิกายน 2561 ถึง 6 พฤศจิกายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมและป้องกันโรคระบาดในพื้นที่ อบต.กายูบอเกาะ(โรคหัด) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคระบาดในพื้นที่ อบต.กายูบอเกาะ(โรคหัด)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคระบาดในพื้นที่ อบต.กายูบอเกาะ(โรคหัด) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4153-05-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 พฤศจิกายน 2561 - 6 พฤศจิกายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่มีการระบาดของโรคหัดทั่วทั้งจังหวัดยะลาในตอนนี้ พบว่ามีผู้ติดโรคหัดยอดรวมสะสมตั้งแต่เดือนกันยายนถึงปัจจุบันมีผู้ป่วย 890 ราย มีผู้เสียชีวิต 10 ราย จาก อ.กรงปินัง 4 ราย อ.กาบัง 2 ราย อ.ธารโต 2 ราย และ อ.บันนังสตา 2 ราย ซึ่งทุกรายอายุต่ำกว่า 3 ขวบ ล้วนไม่ได้รับการฉีดวัคซีน และมีภาวะแทรกซ้อนปอดอักเสบและขาดสารอาหาร ทั้งนี้มาตรการยุติการระบาดโรคหัด จะแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ มาตรการการควบคุมโรค ซึ่งการฉีดวัคซีนโรคหัดตามเกณฑ์ อายุ 9 เดือน ถึง 2 ปีครึ่ง ต้องฉีดให้ครอบคลุม 95 เปอร์เซ็นต์ ก็จะทำให้ไม่เกิดการระบาดของโรคหัดในชุมชน แต่ปัจจุบันการฉีดวัคซีนครอบคลุมแค่ 45 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งต้องควบคุมการระบาดโรคหัด คือเก็บตกในกลุ่มที่ยังซีดวัคซีนไม่ครบในเด็กอายุ 9 เดือนถึง 5 ขวบ และตอนนี้ได้ฉีดวัคซีนไปแล้ว 70 เปอร์เซ็นต์ ในเวลาหนึ่งสัปดาห์ที่ผ่านมา ส่วนมาตรการการวิเคราะห์พื้นที่ ที่มีการรับวัคซีนต่ำมาก จากปัญหาหลายๆด้าน ทั้งความเชื่อ ทัศนคติ และความเข้าใจผิดเกี่ยวกับวัคซีนโรคหัด โดยมีการให้ผู้นำศาสนาสร้างความเข้าใจให้กับประชาชน และมาตรการการดูแลผู้ป่วยโรคหัดในโรงพยาบาล จะมีการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนปอดบวม และการแพร่กระจายโรคหัดในโรงพยาบาล โดยมีการควบคุมพื้นที่ จัดหอผู้ป่วยแยก ซึ่งตอนนี้มีการแยกทุกพื้นที่แล้วทั้งโรงพยาบาลระดับจังหวัด อำเภอและโรงพยาบาลชุมชน รวมทั้งการห้ามเด็กที่อายุต่ำกว่า 12 ปี เข้าเยี่ยมผู้ป่วยโรคหัดเด็ดขาด การค่าเชื้อต่างๆ การระบายอากาศอย่างเป็นระบบโรคติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายและเพิ่มจำนวนในร่างกาย อาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นเกิดจากตัวเชื้อโรคหรือจากพิษที่เชื้อโรคนั้น เชื้อโรคจะติดต่อถ่ายทอดจากผู้ป่วยโดยตรงหรือโดยอ้อมไปสู่คนปกติ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าโรคติดเชื้อ เมื่อมีการถ่ายทอดไปยังผู้อื่นแสดงว่ามีการะบาดของโรคนั้นขึ้นและจะมีมากขึ้นเรื่อยๆ
สำหรับในพื้นที่อำเภอรามันมีเด็กป่วยเป็นโรคหัดแล้วทั้งสิ้น จำนวน 55 ราย ส่วนใหญ่เป็นเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีน และพบว่าในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกายูบอเกาะ มีเด็กที่ปฏิเสธวัคซีนจำนวนทั้งสิ้น 16 ราย เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัดในชุมชนมีประสิทธิภาพ สามารถลดอัตราการเกิดโรคได้อย่างเป็นระบบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลกายูบอเกาะจึงต้องมีมาตรการในการรณรงค์และสร้างความรู้ ความเข้าใจ รวมถึงสร้างความตระหนักที่เคร่งครัดในการรับผิดชอบต่อสังคมโดยการนำบุตรหลานไปรับวัคซีนตามที่แพทย์กำหนด เพื่อลดอัตราการป่วยตายและการแพร่กระจายของโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ลงพื้นประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชนทราบถึงวิธีป้องกันและปฏิบัติตัวเมื่อเกิดโรค รวมถึงป้องกันการแพร่ระบาดสู่คนอื่นด้วยวิธีต่าง ๆ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อได้
- ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น
- สามารถสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชนได้
- ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ลงพื้นประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชนทราบถึงวิธีป้องกันและปฏิบัติตัวเมื่อเกิดโรค รวมถึงป้องกันการแพร่ระบาดสู่คนอื่นด้วยวิธีต่าง ๆ
วันที่ 23 มกราคม 2562กิจกรรมที่ทำ
- ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโรงเรียน ชุมชน โรงพยาบาล ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาและองค์กรอื่นๆ ร่วมกันวางแผนดำเนินการ
- ลงพื้นประชาสัมพันธ์และอบรมให้ความรู้ประชาชนทราบถึงวิธีป้องกันและปฏิบัติตัวเมื่อเกิดโรค
- เมื่อเกิดโรคระบาดขึ้นมาให้ลงพื้นที่เพื่อดำเนินการระงับ และป้องกันการแพร่ระบาดสู่คนอื่นด้วยวิธีต่าง ๆ
- ติดตาม ประเมินผล และสรุปผลกาดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- สามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อได้
- ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น
- สามารถสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชนได้
- ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
200
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อได้
ตัวชี้วัด : สามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อได้ร้อยละ 98
3.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ลงพื้นประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชนทราบถึงวิธีป้องกันและปฏิบัติตัวเมื่อเกิดโรค รวมถึงป้องกันการแพร่ระบาดสู่คนอื่นด้วยวิธีต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคระบาดในพื้นที่ อบต.กายูบอเกาะ(โรคหัด) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4153-05-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายดำรงค์ นะยะอิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคระบาดในพื้นที่ อบต.กายูบอเกาะ(โรคหัด) ”
ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายดำรงค์ นะยะอิ
พฤศจิกายน 2561
ที่อยู่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4153-05-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 พฤศจิกายน 2561 ถึง 6 พฤศจิกายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมและป้องกันโรคระบาดในพื้นที่ อบต.กายูบอเกาะ(โรคหัด) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคระบาดในพื้นที่ อบต.กายูบอเกาะ(โรคหัด)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคระบาดในพื้นที่ อบต.กายูบอเกาะ(โรคหัด) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4153-05-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 พฤศจิกายน 2561 - 6 พฤศจิกายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่มีการระบาดของโรคหัดทั่วทั้งจังหวัดยะลาในตอนนี้ พบว่ามีผู้ติดโรคหัดยอดรวมสะสมตั้งแต่เดือนกันยายนถึงปัจจุบันมีผู้ป่วย 890 ราย มีผู้เสียชีวิต 10 ราย จาก อ.กรงปินัง 4 ราย อ.กาบัง 2 ราย อ.ธารโต 2 ราย และ อ.บันนังสตา 2 ราย ซึ่งทุกรายอายุต่ำกว่า 3 ขวบ ล้วนไม่ได้รับการฉีดวัคซีน และมีภาวะแทรกซ้อนปอดอักเสบและขาดสารอาหาร ทั้งนี้มาตรการยุติการระบาดโรคหัด จะแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ มาตรการการควบคุมโรค ซึ่งการฉีดวัคซีนโรคหัดตามเกณฑ์ อายุ 9 เดือน ถึง 2 ปีครึ่ง ต้องฉีดให้ครอบคลุม 95 เปอร์เซ็นต์ ก็จะทำให้ไม่เกิดการระบาดของโรคหัดในชุมชน แต่ปัจจุบันการฉีดวัคซีนครอบคลุมแค่ 45 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งต้องควบคุมการระบาดโรคหัด คือเก็บตกในกลุ่มที่ยังซีดวัคซีนไม่ครบในเด็กอายุ 9 เดือนถึง 5 ขวบ และตอนนี้ได้ฉีดวัคซีนไปแล้ว 70 เปอร์เซ็นต์ ในเวลาหนึ่งสัปดาห์ที่ผ่านมา ส่วนมาตรการการวิเคราะห์พื้นที่ ที่มีการรับวัคซีนต่ำมาก จากปัญหาหลายๆด้าน ทั้งความเชื่อ ทัศนคติ และความเข้าใจผิดเกี่ยวกับวัคซีนโรคหัด โดยมีการให้ผู้นำศาสนาสร้างความเข้าใจให้กับประชาชน และมาตรการการดูแลผู้ป่วยโรคหัดในโรงพยาบาล จะมีการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนปอดบวม และการแพร่กระจายโรคหัดในโรงพยาบาล โดยมีการควบคุมพื้นที่ จัดหอผู้ป่วยแยก ซึ่งตอนนี้มีการแยกทุกพื้นที่แล้วทั้งโรงพยาบาลระดับจังหวัด อำเภอและโรงพยาบาลชุมชน รวมทั้งการห้ามเด็กที่อายุต่ำกว่า 12 ปี เข้าเยี่ยมผู้ป่วยโรคหัดเด็ดขาด การค่าเชื้อต่างๆ การระบายอากาศอย่างเป็นระบบโรคติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายและเพิ่มจำนวนในร่างกาย อาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นเกิดจากตัวเชื้อโรคหรือจากพิษที่เชื้อโรคนั้น เชื้อโรคจะติดต่อถ่ายทอดจากผู้ป่วยโดยตรงหรือโดยอ้อมไปสู่คนปกติ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าโรคติดเชื้อ เมื่อมีการถ่ายทอดไปยังผู้อื่นแสดงว่ามีการะบาดของโรคนั้นขึ้นและจะมีมากขึ้นเรื่อยๆ
สำหรับในพื้นที่อำเภอรามันมีเด็กป่วยเป็นโรคหัดแล้วทั้งสิ้น จำนวน 55 ราย ส่วนใหญ่เป็นเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีน และพบว่าในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกายูบอเกาะ มีเด็กที่ปฏิเสธวัคซีนจำนวนทั้งสิ้น 16 ราย เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัดในชุมชนมีประสิทธิภาพ สามารถลดอัตราการเกิดโรคได้อย่างเป็นระบบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลกายูบอเกาะจึงต้องมีมาตรการในการรณรงค์และสร้างความรู้ ความเข้าใจ รวมถึงสร้างความตระหนักที่เคร่งครัดในการรับผิดชอบต่อสังคมโดยการนำบุตรหลานไปรับวัคซีนตามที่แพทย์กำหนด เพื่อลดอัตราการป่วยตายและการแพร่กระจายของโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ลงพื้นประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชนทราบถึงวิธีป้องกันและปฏิบัติตัวเมื่อเกิดโรค รวมถึงป้องกันการแพร่ระบาดสู่คนอื่นด้วยวิธีต่าง ๆ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อได้
- ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น
- สามารถสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชนได้
- ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ลงพื้นประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชนทราบถึงวิธีป้องกันและปฏิบัติตัวเมื่อเกิดโรค รวมถึงป้องกันการแพร่ระบาดสู่คนอื่นด้วยวิธีต่าง ๆ |
||
วันที่ 23 มกราคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
200 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อได้ ตัวชี้วัด : สามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อได้ร้อยละ 98 |
3.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ลงพื้นประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชนทราบถึงวิธีป้องกันและปฏิบัติตัวเมื่อเกิดโรค รวมถึงป้องกันการแพร่ระบาดสู่คนอื่นด้วยวิธีต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการควบคุมและป้องกันโรคระบาดในพื้นที่ อบต.กายูบอเกาะ(โรคหัด) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4153-05-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายดำรงค์ นะยะอิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......