กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด ประจำปี 2562
รหัสโครงการ 62-L3308-04-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ เทศบาลตำบลชะรัด
วันที่อนุมัติ 30 พฤศจิกายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 128,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุภาพร คงพันธ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.473,99.989place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัดได้จัดตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2551 เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลชะรัด ได้รับบริการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพอย่างทั่วถึง และเพื่อสร้างหลักประกันให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชน จากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชนได้ถูกต้องมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับภารกิจที่ระบุในข้อตกลงการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อันจะส่งผลให้เกิดมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคเรื้องรัง และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ตลอดจนทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกพื้นที่ต่อไป และเพื่อให้ประชาชนทุกคนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านร่างกายและจิตใจอย่างยั่งยืน กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่ผู้ขอรับทุน

1.กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %

2.กองทุนสุขภาพตำบลสามารถออกเงินสนับสนุนโครงการแก่ผู้รับทุน ภายใน เดือน ม.ค. จำนวนร้อยละ 60 และภายในเดือน ก.ค.61 ร้อยละ 90

0.00
2 ข้อที่ 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)

0.00
3 ข้อที่ 3. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)

0.00
4 ข้อที่ 4. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ

จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1.เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่ผู้ขอรับทุน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : ข้อที่ 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : ข้อที่ 3. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : ข้อที่ 4. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

30 พ.ย. 61 ประชุมคณะกรรมการกองทุน 1/62 6,300.00 -
30 พ.ย. 61 กิจกรรมการจัดประชุมเพื่อนจัดทำแผนกองทุนฯ 3,000.00 -
30 พ.ย. 61 ค่าอาหารกลางวัน /ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มประชุมคณะกรรมการกองทุน/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน 0.00 -
18 ธ.ค. 61 ประชุมคณะกรรมการกองทุน 2/62 21.00 4,800.00 -
18 ธ.ค. 61 อาหารว่างการประชุมคณะกรรมการกองทุน 2/62 425.00 -
23 ม.ค. 62 ประชุมคณะกรรมการกองทุน 3/62 21.00 5,400.00 -
23 ม.ค. 62 อาหารว่างการประชุมคณะกรรมการกองทุน 3/62 525.00 -
20 ก.พ. 62 ประชุมคณะกรรมการกองทุน 4/62 21.00 7,200.00 -
20 ก.พ. 62 อาหารว่างการประชุมคณะกรรมการกองทุน 4/62 525.00 -
1 มี.ค. 62 2.ประชุมอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ 1/2562 2,700.00 -
1 มี.ค. 62 อาหารว่าง อาหารกลางวัน การประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการกองทุน 1/62 675.00 -
13 มี.ค. 62 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน 60,000.00 -
14 มี.ค. 62 ประชุมอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ 2/2562 2,700.00 -
14 มี.ค. 62 อาหารว่างการประชุมคณะกรรมการกองทุน 1/62 425.00 -
14 มี.ค. 62 อาหารว่างการประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการกองทุน 2/62 225.00 -
26 มี.ค. 62 ประชุมคณะกรรมการกองทุน 5/62 8,400.00 -
26 มี.ค. 62 อาหารว่าง อาหารกลางวัน การประชุมคณะกรรมการกองทุน 5/62 1,575.00 -
29 พ.ค. 62 ประชุมอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2562 3,300.00 -
4 มิ.ย. 62 ค่าอาหารว่างการประชุมอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2562 จำนวน 11 คน 275.00 -
22 ก.ค. 62 ประชุมคณะกรรมการกองทุน 6/62 21.00 7,200.00 -
22 ก.ค. 62 อาหารว่าง อาหารกลางวัน การประชุมคณะกรรมการกองทุน 6/62 525.00 -
22 ส.ค. 62 อาหารว่าง อาหารกลางวัน การประชุมคณะกรรมการกองทุน 7/62 525.00 -
23 ส.ค. 62 ประชุมคณะกรรมการกองทุน 7/62 8,400.00 -
30 ส.ค. 62 ค่าอาหารว่างการประชุมอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2562 จำนวน 11 คน 275.00 -
30 ก.ย. 62 ประชุมอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2562 3,300.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. 1.ขั้นตอนวางแผนงาน
      - ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ
      และคณะทำงาน
      - กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ 2562
  2. 2.ขั้นตอนการดำเนินงาน
      - ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย
      - จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน
      - จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม   - จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม
  3. 3.ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด
    • จัดประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษา อย่างน้อย 5 ครั้ง/ปี
        - จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี
        - สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. คณะกรรมการกองทุน ฯ และคณะกรรมการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนได้มีความรู้ และพัฒนางานกองทุนได้
  2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  3. การรับเงินการจ่ายเงินการเก็บรักษาเงินหรือการจัดทำบัญชีเงินเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
  4. มีแผนการดำเนินงานตลอดปีงบประมาณ 2562
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 พ.ย. 2561 13:30 น.