โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคความดันและเบาหวาน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคความดันและเบาหวาน ”
ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวณัฏฐณิชา ริทธิ์โต (นักวิชาการสาธารณสุข)
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคความดันและเบาหวาน
ที่อยู่ ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคความดันและเบาหวาน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคความดันและเบาหวาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคความดันและเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 76,415.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสาธารณสุขและส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนมากที่สุดในปัจจุบันและยังเป็นสาเหตุของการตายและความพิการที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในทุกๆปี เช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคเส้นเลือดในสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต และโรคมะเร็ง เหล่านี้ เป็นต้น จากผลการดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง ปี 2557 และปี 2558 ได้ดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ผลการดำเนินมีดังนี้ ปี 2557 คัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 92.44 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 474 ราย คิดเป็นร้อยละ 31.63 พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 141 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.18 และปี 2558 คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 98.34 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 417 ราย คิดเป็นร้อยละ 21.63 และพบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 149 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.18 และในปี 2557 มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการขึ้นทะเบียนที่ รพ.สต.ท่ามะปราง 225 ราย , เบาหวาน 126 ราย ในปี 2558 มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่เพิ่มขึ้น 12 ราย รวมเป็น 237 ราย และโรคเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้น 5 ราย รวมเป็น 131 ราย ในปี 2559 พบว่ามีผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน จำนวน 146 คน และป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง 249 คน ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีผู้ป่วยรายใหม่มาขึ้นทะเบียนเพื่อรับการรักษาต่อที่ รพ.สต.ท่ามะปรางมีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี ดังนั้นเพื่อเป็นการลดปัญหาการเพิ่มจำนวนของผู้ป่วยรายใหม่ โดยจะต้องเริ่มกดำเนินการตั้งแต่คัดกรองโรคในกลุ่มประชาชนทั่วไป และนำกลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพไม่ให้กลายเป็นกลุ่มผู้ป่วยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคคว่ามดันโลหิตสูงเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพสำหรับกลุ่มเสี่ยงประจำปี 2560 ขึ้นเพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนักในการที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
- เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนในชุมชน มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองตลอดจนสมาชิกในครอบครัว เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้เพิ่มขึ้น
- กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
- กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองและได้รับการส่งต่อในรายที่ตรวจพบความผิดปกติอย่างเหมาะสม
- มีคลินิก DPAC ใน รพ.สต.และมีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
แบบรายงานผลการดำเนินงาน
โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคความดันและเบาหวาน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง ประจำปีงบประมาณ 2560
1. ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคความดันและเบาหวาน
2. วัตถุประสงค์
2.1 ให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
2.2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนักในการที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2.3 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
2.4 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
2.5 เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนในชุมชนมีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง ตลอดถึงสมาชิกในครอบครัวเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าชะมวง จำนวน 76,415 บาท (เจ็ดหมื่นหกพันสี่ร้อยสิบห้าบาทถ้วน)
งบประมาณที่เบิกจ่ายจริง 76,415 บาท โดยการจ่ายตามข้อตกลง ดังนี้
1. ค่าอาหารว่างในการจัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการแก่ อสม. จำนวน 135 คน คนละ 1
มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 3,375 บาท
2. ค่าอาหารว่างในการอบรมกลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 คน คนละ 50 บาท เป็นเงินจำนวน 2,500 บาท
3. ค่าอาหารว่างในการจัดอบรมกลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 50 บาท เป็นเงิน
2,500 บาท
4. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองเบาหวาน (ชุดตรวจ DTX) จำนวน 3,132 ชุด ชุดละ 20
บาท เป็นเงิน 62,640 บาท
5. ค่าจ้างเหมาทำป้ายไวนิลรณรงค์ จำนวน 2 แผ่น แผ่นละ 450 บาท เป็นเงิน 900 บาท
6. ค่าอาหารว่างประชุมกลุ่มป่วยโรคความดัน เบาหวาน (ตรวจตา,ไต,เท้า ) 100 คน คนละ 1 มื้อ
มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
7. ค่าอาหารว่างประชุมกลุ่มป่วยความดัน เบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อน ตา,ไต,เท้า 40 คน คนละ 1
มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
รวมค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น 76,415 บาท (เงินเจ็ดหมื่นหกพันสี่ร้อยยี่สิบห้าบาทถ้วน)
คงเหลือเงินยืมและส่งคืนมาพร้อมนี้ จำนวน 0 บาท
4. ระยะเวลาดำเนินงาน เมษายน 2560 – สิงหาคม 2560
5. ผลการดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. จำนวน 135 คน
- จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงจำนวน 50 คน
- ตรวตคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป จำนวน 2,682 คน คิดเป็นร้อยละ 97.74
- พบกลุ่มที่มีความดันผิดปกติ จำนวน 1,790 บาท
- พบกลุ่มเสี่ยง จำนวน 805 คน
- พบกลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 87 คน
- แพทย์วินิจฉัยว่าป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 37 คน
- ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 2,832 คน คิดเป็นร้อยละ 96.07
- พบกลุ่มที่มีน้ำตาลในเลือดปกติ จำนวน 2,680 คน
- พบกลุ่มเสี่ยงจำนวน 119 คน
- พบกลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 33 คน
- ส่งพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยโรค จำนวน 33 คน
- แพทย์วินิจฉัยว่าป่วยเป็นเบาหวาน จำนวน 13 คน
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีพฤติกรรมที่เหมาะสม 50 คน
6. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์
- การบรรลุตามวัตถุประสงค์
√ บรรลุตามวัตถุประสงค์
บรรลุตามวัตถุประสงค์
- จำนวนผู้เข้าร่วมในแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 50 คน
7. ปัญหาอุปสรรคในการทำงาน
√ ไม่มี
มี
ปัญหา / อุปสรรค.......................................................................................................................
8. แนวทางการแก้ไข .......................................................................................................................
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนักในการที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
5
เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนในชุมชน มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองตลอดจนสมาชิกในครอบครัว เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนักในการที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม (4) เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (5) เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนในชุมชน มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองตลอดจนสมาชิกในครอบครัว เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคความดันและเบาหวาน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวณัฏฐณิชา ริทธิ์โต (นักวิชาการสาธารณสุข) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคความดันและเบาหวาน ”
ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวณัฏฐณิชา ริทธิ์โต (นักวิชาการสาธารณสุข)
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคความดันและเบาหวาน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคความดันและเบาหวาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคความดันและเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 76,415.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสาธารณสุขและส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนมากที่สุดในปัจจุบันและยังเป็นสาเหตุของการตายและความพิการที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในทุกๆปี เช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคเส้นเลือดในสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต และโรคมะเร็ง เหล่านี้ เป็นต้น จากผลการดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง ปี 2557 และปี 2558 ได้ดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ผลการดำเนินมีดังนี้ ปี 2557 คัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 92.44 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 474 ราย คิดเป็นร้อยละ 31.63 พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 141 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.18 และปี 2558 คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 98.34 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 417 ราย คิดเป็นร้อยละ 21.63 และพบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 149 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.18 และในปี 2557 มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการขึ้นทะเบียนที่ รพ.สต.ท่ามะปราง 225 ราย , เบาหวาน 126 ราย ในปี 2558 มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่เพิ่มขึ้น 12 ราย รวมเป็น 237 ราย และโรคเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้น 5 ราย รวมเป็น 131 ราย ในปี 2559 พบว่ามีผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน จำนวน 146 คน และป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง 249 คน ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีผู้ป่วยรายใหม่มาขึ้นทะเบียนเพื่อรับการรักษาต่อที่ รพ.สต.ท่ามะปรางมีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี ดังนั้นเพื่อเป็นการลดปัญหาการเพิ่มจำนวนของผู้ป่วยรายใหม่ โดยจะต้องเริ่มกดำเนินการตั้งแต่คัดกรองโรคในกลุ่มประชาชนทั่วไป และนำกลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพไม่ให้กลายเป็นกลุ่มผู้ป่วยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคคว่ามดันโลหิตสูงเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพสำหรับกลุ่มเสี่ยงประจำปี 2560 ขึ้นเพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนักในการที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
- เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนในชุมชน มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองตลอดจนสมาชิกในครอบครัว เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้เพิ่มขึ้น
- กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
- กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองและได้รับการส่งต่อในรายที่ตรวจพบความผิดปกติอย่างเหมาะสม
- มีคลินิก DPAC ใน รพ.สต.และมีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
แบบรายงานผลการดำเนินงาน โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคความดันและเบาหวาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะปราง ประจำปีงบประมาณ 2560
1. ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคความดันและเบาหวาน
2. วัตถุประสงค์
2.1 ให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
2.2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนักในการที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2.3 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
2.4 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
2.5 เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนในชุมชนมีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง ตลอดถึงสมาชิกในครอบครัวเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าชะมวง จำนวน 76,415 บาท (เจ็ดหมื่นหกพันสี่ร้อยสิบห้าบาทถ้วน)
งบประมาณที่เบิกจ่ายจริง 76,415 บาท โดยการจ่ายตามข้อตกลง ดังนี้
1. ค่าอาหารว่างในการจัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการแก่ อสม. จำนวน 135 คน คนละ 1
มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 3,375 บาท
2. ค่าอาหารว่างในการอบรมกลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 คน คนละ 50 บาท เป็นเงินจำนวน 2,500 บาท
3. ค่าอาหารว่างในการจัดอบรมกลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 50 บาท เป็นเงิน
2,500 บาท
4. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองเบาหวาน (ชุดตรวจ DTX) จำนวน 3,132 ชุด ชุดละ 20
บาท เป็นเงิน 62,640 บาท
5. ค่าจ้างเหมาทำป้ายไวนิลรณรงค์ จำนวน 2 แผ่น แผ่นละ 450 บาท เป็นเงิน 900 บาท
6. ค่าอาหารว่างประชุมกลุ่มป่วยโรคความดัน เบาหวาน (ตรวจตา,ไต,เท้า ) 100 คน คนละ 1 มื้อ
มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
7. ค่าอาหารว่างประชุมกลุ่มป่วยความดัน เบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อน ตา,ไต,เท้า 40 คน คนละ 1
มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
รวมค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น 76,415 บาท (เงินเจ็ดหมื่นหกพันสี่ร้อยยี่สิบห้าบาทถ้วน)
คงเหลือเงินยืมและส่งคืนมาพร้อมนี้ จำนวน 0 บาท
4. ระยะเวลาดำเนินงาน เมษายน 2560 – สิงหาคม 2560
5. ผลการดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. จำนวน 135 คน
- จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงจำนวน 50 คน
- ตรวตคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป จำนวน 2,682 คน คิดเป็นร้อยละ 97.74
- พบกลุ่มที่มีความดันผิดปกติ จำนวน 1,790 บาท
- พบกลุ่มเสี่ยง จำนวน 805 คน
- พบกลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 87 คน
- แพทย์วินิจฉัยว่าป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 37 คน
- ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 2,832 คน คิดเป็นร้อยละ 96.07
- พบกลุ่มที่มีน้ำตาลในเลือดปกติ จำนวน 2,680 คน
- พบกลุ่มเสี่ยงจำนวน 119 คน
- พบกลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 33 คน
- ส่งพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยโรค จำนวน 33 คน
- แพทย์วินิจฉัยว่าป่วยเป็นเบาหวาน จำนวน 13 คน
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีพฤติกรรมที่เหมาะสม 50 คน
6. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์
- การบรรลุตามวัตถุประสงค์
√ บรรลุตามวัตถุประสงค์
บรรลุตามวัตถุประสงค์
- จำนวนผู้เข้าร่วมในแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 50 คน
7. ปัญหาอุปสรรคในการทำงาน
√ ไม่มี
มี
ปัญหา / อุปสรรค.......................................................................................................................
8. แนวทางการแก้ไข .......................................................................................................................
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนักในการที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : |
|
|||
5 | เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนในชุมชน มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองตลอดจนสมาชิกในครอบครัว เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนักในการที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม (4) เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (5) เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนในชุมชน มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองตลอดจนสมาชิกในครอบครัว เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคความดันและเบาหวาน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวณัฏฐณิชา ริทธิ์โต (นักวิชาการสาธารณสุข) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......